Page 124 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทานตะวัน
P. 124

3-42





                  ตารางที่ 3-12 ความต้องการความช่วยเหลือด้านการผลิตของเกษตรกรที่ปลูกทานตะวัน

                              ปีเพาะปลูก 2554/55

                                                                                          หน่วย : ร้อยละ

                                                            เหมาะสม  เหมาะสม      เหมาะสม

                                ความต้องการ                    สูง     ปานกลาง     เล็กน้อย     เฉลี่ย
                                                              (S1)       (S2)        (S3)

                  - ประกัน/พยุงราคาผลผลิต                     86.96      76.47      85.71       82.76

                  - จัดหาเมล็ดพันธุ์ราคาตํ่า                  43.48      20.59        -         31.03
                  - ประกันรายได้เกษตรกร                       26.09      11.76      14.29       19.54

                  - จัดหาปัจจัยการผลิตราคาตํ่า                17.39      20.59      14.29       18.39

                  - จัดสร้างแหล่งนํ้าเพื่อการเกษตร            13.04      8.82       28.57       12.64

                  - จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิต                    6.52       11.76      14.29       9.20
                  - ส่งเสริมและแนะนําการปรับปรุงบํารุงดิน     4.35       5.88       14.29       5.75

                  - ขุดลอกแหล่งนํ้าธรรมชาติหรือแหล่งนํ้า      8.70         -          -         4.60

                    สาธารณะที่ตื้นเขิน
                  - ส่งเสริมและแนะนําการทําการเกษตรอินทรีย์   4.35         -        14.29       3.45

                  - จัดหาแหล่งเงินกู้อัตราดอกเบี้ยตํ่า        4.35         -          -         2.30

                  - จัดสรรที่ดินทํากิน                        2.17         -        14.29       2.30

                  - ส่งเสริมและแนะนําการทําปุ๋ ย/สารป้องกัน     -          -        14.29       1.15
                    และกําจัดศัตรูพืชใช้เอง

                  - ปรับปรุงหรือซ่อมแซมถนนเพื่อขนส่งผลผลิต      -        2.94         -         1.15

                  ที่มา : กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินและกลุ่มวางแผนการใช้ที่ดินที่ 1 สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน (2555)


                      3)  ทัศนคติด้านการใช้ที่ดินและการเพิ่มผลผลิต
                       จากการศึกษาทัศนคติการใช้ที่ดินของเกษตรกรที่ปลูกทานตะวัน พบว่า เกษตรกร

                  ตัวอย่างที่สํารวจทุกรายไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลงการปลูกทานตะวันไปปลูกพืชชนิดอื่น โดยให้เหตุผลว่า

                  เป็นพืชที่ปลูกมาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 44.23 ไม่มีความรู้ในการปลูกพืชชนิดอื่น และเป็นการใช้
                  ประโยชน์ที่ดินของตนเองมีเหตุผลเท่ากัน ร้อยละ 35.58 และสภาพพื้นที่ไม่เหมาะสําหรับปลูกพืชชนิดอื่น

                  ร้อยละ 19.23 สําหรับแนวคิดในการเพิ่มผลผลิต เกษตรกรมีความคิดว่า ควรเพิ่มปุ๋ ยเคมี ร้อยละ 68.27
                  เพิ่มปุ๋ ยอินทรีย์และเปลี่ยนพันธุ์ใหม่มีแนวคิดเท่ากัน ร้อยละ 29.81 ใช้ฮอร์โมนเพิ่ม ร้อยละ 24.04

                  ปรับปรุงบํารุงดิน ร้อยละ 9.62 ป้องกันวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช ร้อยละ 3.85 เป็นต้น (ตารางที่ 3-13)





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทานตะวัน                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129