Page 54 - mize
P. 54

3-24






                  ก าจัดศัตรูพืช ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพทดแทนสารเคมีการเกษตรให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง

                  ใช้สารเคมีการเกษตรอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการเพื่อลดผลกระทบด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
                  ตลอดจนก าหนดมาตรการทางการเงินการคลังในการก ากับดูแลการผลิต การน าเข้าและการใช้สารเคมี
                  การเกษตร

                              พัฒนาปัจจัยสนับสนุนในการบริหารจัดการภาคเกษตรและสนับสนุน เกษตรกรรุ่นใหม่
                  โดย (1) พัฒนาฐานข้อมูลด้านอุปสงค์และอุปทานด้านการเกษตรให้มีความถูกต้อง แม่นย า เชื่อถือได้
                  และสามารถน ามาใช้ประโยชน์ส าหรับการวางแผนด้านการเกษตรโดยใช้การตลาดน า รวมถึง การส่งเสริม
                  ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลและเทคโนโลยีได้อย่างทั่วถึง และการพัฒนา
                  ระบบเตือนภัยการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ (2) สร้างบุคลากรด้านการเกษตร โดยการผลิตเกษตรกรรุ่น

                  ใหม่ หรือด าเนินนโยบายบัณฑิตคืนถิ่น การจัดท าหลักสูตรการศึกษาที่เน้นการเรียนรู้จากภาคปฏิบัติ
                  เพื่อสร้างเกษตรกรที่มีความรู้และมีความสามารถในการยกระดับการผลิต แปรรูป การตลาดและการ
                  บริหารจัดการที่สามารถปรับตัวได้ทันตามการเปลี่ยนแปลงของโลก การสนับสนุนการสร้างและการ

                  รวมกลุ่มเกษตรกรปราดเปรื่องให้เป็นผู้บริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตั้งแต่ต้นน้ าถึงการแปรรูป
                  และการตลาด และเปิดโอกาสให้บุตรของเกษตรกรที่มีพื้นที่ท าการเกษตร มีทัศนคติและความต้องการ
                  ในการสานต่องานเกษตรกรรมเป็นล าดับแรก ตลอดจนการสร้างค่านิยมที่ดีและการสร้างความมั่นคง
                  ของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร โดยเฉพาะการดูแลสวัสดิการชาวนา ควบคู่กับการสนับสนุนการเพิ่ม

                  รายได้จากอาชีพนอกภาคเกษตร รวมถึงการสร้างองค์ความรู้และเข้าถึงเครือข่ายพัฒนาความรู้
                  ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและวางระบบบริหารจัดการความรู้ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้
                  เทคโนโลยี และ (3) ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรให้ทันสมัย เช่น กฎหมายด้านสารเคมี
                  กฎหมายด้านสหกรณ์ กฎหมายด้านปฏิรูปที่ดิน กฎหมายด้านอาหาร และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

                  กับมาตรฐานสินค้าเกษตร เป็นต้น
                            2) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                              ปัจจุบันสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก าลังเป็นปัญหาและเป็นจุดอ่อน
                  ของการรักษาฐานการผลิตและให้บริการ รวมทั้งการด ารงชีพที่ยั่งยืน ฐานทรัพยากรธรรมชาติถูกน าไปใช้

                  ในการพัฒนา จ านวนมากก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่อง พื้นที่ป่าไม้ลดลง ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม
                  ความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม ทรัพยากรน้ ายังมีส่วนที่ไม่สามารถจัดสรรได้ตามความต้องการ
                  และมีความเสี่ยงในการขาดแคลนในอนาคต เกิดปัญหาความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ

                  มากขึ้น จากการเข้าถึงและการจัดสรรการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่เป็นธรรม รวมทั้งปัญหา
                  สิ่งแวดล้อมเพิ่มสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและชุมชนเมือง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต
                  ของประชาชน และต้นทุนทางเศรษฐกิจในขณะที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ
                  ทางธรรมชาติมีความผันผวนและรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะอุทกภัยและภัยแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
                  ภาคเศรษฐกิจและห่วงโซ่การผลิตภายในประเทศ และข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับ

                  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งทวีความเข้มข้น ท าให้ประเทศไทยต้องเตรียมพร้อมรับภาระในการ
                  ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายใต้กระแสการแข่งขันทางการค้า ขณะที่วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน
                  ของโลกหลัง ค.ศ. 2015 ซึ่งเป็นการก าหนดทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกในอีก 15 ปี ข้างหน้า

                  (ค.ศ. 2016-2030) จะส่งผลกระทบต่อแนวทางการพัฒนาประเทศในอนาคต ดังนั้นประเด็นท้าทาย





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59