Page 53 - mize
P. 53

3-23






                  แบบประชารัฐ การลงทุนแบบความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน และการท าเกษตรพันธสัญญาที่มี

                  ความรับผิดชอบต่อสังคม และมีความเป็นธรรม (2) ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว์ และการท า
                  ประมงให้สอดคล้องกับศักยภาพ พื้นที่และความต้องการของตลาด (Zoning) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลด
                  ต้นทุนการผลิต โดยเร่งส่งเสริม การท าเกษตรแปลงใหญ่และเกษตรกรรมแม่นย าสูงในพื้นที่

                  ที่เหมาะสม การร่วมจัดหาปัจจัยการผลิตและเครื่องจักรกลการเกษตร การสนับสนุนการเข้าถึงแหล่ง
                  เงินทุนเพื่อการปรับปรุงการผลิต และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานจ าเป็นด้านการเกษตร อาทิระบบโลจิสติกส์
                  และระบบภูมิสารสนเทศในการวางแผนการ ผลิตตลอดห่วงโซ่ ตลอดจนส่งเสริมการท าเกษตร
                  แบบประณีตที่ต้องใช้องค์ความรู้ควบคู่กับการวางแผนและการจัดการอย่างเป็นระบบมีความเอาใจใส่
                  และใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่ามากที่สุด รวมทั้งค านึงถึงระบบนิเวศ การพัฒนาสินค้าเกษตรที่ได้

                  จดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ ที่ไม่เหมาะสมไปสู่การท าเกษตร
                  ทางเลือกอื่นๆ รวมถึงการส่งเสริมระบบและการเลี้ยงปศุสัตว์และการท าประมงอย่างยั่งยืน (3) วิจัย
                  พัฒนาและใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหม่ในกระบวนการผลิต ทั้งก่อนการเก็บเกี่ยว หลังเก็บเกี่ยว

                  และในกระบวนการแปรรูปเพื่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต ตลอดห่วงโซ่การผลิต
                  (4) สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร และการใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรชีวภาพเพื่อ
                  ต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง โดยน าผลการวิจัยและพัฒนามาใช้ ประโยชน์ในการ
                  สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์ที่หลากหลายและสอดคล้องกับความ ต้องการ

                  ของตลาดบนพื้นฐานของการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งภาคเกษตรกร ภาคเอกชน และภาครัฐ (5)
                  บริหารจัดการผลผลิตอย่างเป็นระบบครบวงจร โดยมีการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องและเชื่อมโยง
                  กับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมเพื่อการแปรรูปสร้างมูลค่าและความต้องการของผู้บริโภค
                  ในตลาด เพื่อ สร้างสมดุลการผลิตในทุกระดับตั้งแต่ท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค และประเทศ ตลอดจนมี

                  การเชื่อมโยงการผลิต ภาคเกษตรกับภาคการผลิตอื่น เช่น ภาคบริการและการท่องเที่ยวเพื่อลด
                  การพึ่งพิงการส่งออกสินค้าเกษตร และเพิ่มมูลค่าทางการเกษตร (6) พัฒนากลไกจัดการความเสี่ยง
                  ที่กระทบต่อสินค้าเกษตร ได้แก่ ตลาดซื้อ ขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า การจัดตั้งกองทุนประกันภัยพืชผล
                  ทางการเกษตร รวมทั้งสร้างระบบเตือนภัย ทางการเกษตรล่วงหน้า และ (7) สร้างความร่วมมือด้าน

                  การเกษตรกับประเทศเพื่อนบ้าน ในการเป็นแหล่ง ผลิตวัตถุดิบเพื่อการแปรรูปสร้างมูลค่าและโอกาส
                  ในด้านการตลาดจากการส่งออกทั้งในและนอกภูมิภาคอาเซียน
                              ส่งเสริมและเร่งขยายผลแนวคิดการท าการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

                  พอเพียง โดย (1) ส่งเสริมให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการก าหนดนโยบายการเกษตร มีส่วนร่วมคิดร่วมท า
                  และเป็นเจ้าของในการพัฒนาการเกษตรของตนโดยภาครัฐสนับสนุนด้านปัจจัยพื้นฐานที่จ าเป็น
                  และ เชื่อมโยงการด าเนินการกับศูนย์เรียนรู้ต่างๆ ในพื้นที่ (2) ส่งเสริมขยายผลและพัฒนาการผลิต
                  ในระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน ทั้งในรูปแบบเกษตรทฤษฏีใหม่ เกษตรผสมผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรีย์
                  เกษตร ธรรมชาติ รวมถึงการท าเกษตรกรรมตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีโดยสนับสนุนบทบาท

                  เครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้านในการขับเคลื่อน และการปรับกลไกและโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร
                  ที่จ าเป็นในการทeเกษตรกรรมยั่งยืน อาทิ การพัฒนาระบบข้อมูลเกษตรกรรมยั่งยืน การสร้างองค์ความรู้
                  การสนับสนุนเงินทุนในลักษณะสินเชื่อสีเขียวที่จูงใจการผลิตและการส่งเสริมการตลาด และ (3) ควบคุม

                  การใช้สารเคมีการเกษตรที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะสารเคมี





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58