Page 128 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 128

3-50






                             3)  ยุทธศาสตร์การตลาด พัฒนา ส่งเสริมช่องทางจัดจ าหน่ายภายในและต่างประเทศ
                             4)  ยุทธศาสตร์ผู้บริโภค ผู้บริโภคทั้งภายในและต่างประเทศเชื่อมั่น นิยมมะม่วงไทย

                  เป็นอันดับต้นๆ

                             5)  ยุทธศาสตร์พันธมิตร เชื่อมโยงคู่ค้าภายใน ผู้ส่งออก ผู้ประกอบการปัจจัยการผลิต

                  สถาบันการเงิน สถาบันทางวิชาการ ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง
                             6)  ยุทธศาสตร์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลิตอย่างถูกต้องตามหลัก GAP ปลอดภัยต่อผู้ผลิต

                  ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


                  3.5 ศักยภาพ โอกาส และข้อจ ากัดในการผลิตและการตลาด

                      3.5.1   ด้านการผลิต

                             จุดแข็ง

                            1) สภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศของประเทศไทยซึ่งเป็นเขตร้อนเหมาะสมในการ
                  เพาะปลูกมะม่วงได้เกือบทุกภาค

                            2) ทรัพยากรดินของประเทศไทย มีศักยภาพทางกายภาพที่เหมาะสมในการเพาะปลูกมะม่วง

                  92,612,803ไร่ โดยเป็นเขตพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) 7,114,646 ไร่ เขตพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมปานกลาง (S2) 64,102,205 ไร่ และเขตพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) 21,395,952 ไร่
                            3) เกษตรกรมีความรู้ในการผลิตมะม่วงนอกฤดู ท าให้มีผลผลิตมะม่วงตลาดทั้งปีและ

                  สามารถจ าหน่วยได้ในราคาสูง

                            4) ประเทศไทยมีพันธุ์มะม่วงที่เป็นที่ต้องการอย่างต่อเนื่องในหลายประเทศเนื่องจากใน
                  ต่างประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น เวียดนาม ฯลฯ ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศไม่เอื้ออ านวย เช่น มะม่วงพันธุ์น ้าดอกไม้

                  พันธุ์เขียวเสวย พันธุ์พิมเสน

                            5) มะม่วงของประเทศไทยมีหลากหลายสายพันธุ์ สามารถรับประทานได้ทั้งสุก และดิบ

                  ได้แก่ พันธุ์น ้าดอกไม้สีทอง น ้าดอกไม้เบอร์ 4  เขียวเสวย มหาชนก เป็นต้น
                            6) มีเทคโนโลยีในการควบคุมปริมาณการออกดอก ที่พัฒนาจนสามารถกระจายผลผลิตได้

                  ตลอดปี

                            7) เกษตรกรบางกลุ่มมีความรู้ประสบการณ์ในการปลูกและการดูแลรักษาให้ได้มะม่วงที่มี
                  คุณภาพ

                            8) มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วง ท าให้เกิดการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์

                  ในด้านการผลิต









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133