Page 123 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 123

3-45





                              เป้าหมายที่ 6แผนงานด้านความมั่นคงมีการบูรณาการสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา

                  เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

                  และสังคมแห่งชาติ, 2560 : 21)

                        3.4.2  ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
                              มุ่งในการแก้ไขจุดอ่อนและเสริมจุดแข็งให้เอื้อต่อการพัฒนาภาคการเกษตรในระยะยาว

                  เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ “เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน” โดยมีแนวทาง

                  ไปสู่เป้าหมาย คือ
                              ยุทธศาสตร์ที่ 1สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร

                              ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร

                              ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและ

                  นวัตกรรม
                              ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน

                              ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2559)

                        3.4.3  แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน ้า พ.ศ. 2558 – 2569
                              แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน ้า พ.ศ.2558-2569 ซึ่งเป็นมติคณะรัฐมนตรี

                  เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 ก าหนดขึ้นโดยยึดหลัก การบริหารจัดการน ้าในลุ่มน ้าอย่างบูรณาการและ

                  ยั่งยืน ตามแนวนโยบายของรัฐบาล ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                  ที่ผ่านมาในอดีตจนถึงปัจจุบัน และการวิเคราะห์สถานการณ์น ้าและแนวโน้มความต้องการใช้น ้า ปัญหา

                  การขาดแคลนน ้า อุทกภัยและคุณภาพน ้าในอนาคต บนพื้นฐานของ การท างานร่วมกันกับหน่วยงานที่

                  เกี่ยวข้อง รวมถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่

                              ทั้งนี้ แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน ้า พ.ศ.2558-2569 มีความสอดคล้อง
                  เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับประเด็นที่ส าคัญของนโยบายที่ดินและทรัพยากรดิน ดังนี้

                              ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการน ้าอุปโภคบริโภค : เกี่ยวข้องในประเด็นการลดความเหลื่อมล ้าใน

                  การเข้าถึงปัจจัยพื้นฐานในการด ารงชีพของประชาชน
                              ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความมั่นคงของน ้าภาคการผลิต (เกษตรและอุตสาหกรรม)

                  เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงในประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาความยากจนและสนับสนุนความมั่นคงด้าน

                  เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ รวมทั้งการลดความเสี่ยงที่จะเกิดการขาดแคลนน ้า

                              ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการน ้าท่วมและอุทกภัย : เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงในประเด็นเรื่อง
                  การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน โดยเฉพาะพื้นที่ต้นน ้า เปลี่ยนเป็นพื้นที่อยู่อาศัยและท าการเกษตร ท าให้

                  การเกิดน ้าหลาก ดินถล่ม น ้าท่วมฉับพลัน เกิดขึ้นบ่อยและรุนแรง การใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสม






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128