Page 118 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 118

3-40






                  กิโลกรัม สูตร 16-16-16 ไร่ละ 12.88 กิโลกรัม) รองลงมาไร่ละ  68.84  และ  56.92 กิโลกรัม ในพันธุ์

                  น ้าดอกไม้เบอร์ 4 และพันธุ์น ้าดอกไม้สีทอง ตามล าดับ ปุ๋ ยชีวภาพชนิดเม็ดใช้มากที่สุดในพันธุ์

                  เขียวเสวย ไร่ละ 11.69 กิโลกรัม รองลงมาไร่ละ 9.09  และ  6.31 กิโลกรัม ในพันธุ์น ้าดอกไม้สีทองและ
                  พันธุ์น ้าดอกไม้เบอร์ 4 ตามล าดับ ปุ๋ ยคอกใช้ในปริมาณใกล้เคียงกัน คือ ไร่ละ 12.00  11.69  และ  11.16

                  กิโลกรัม ในพันธุ์น ้าดอกไม้เบอร์ 4 พันธุ์เขียวเสวยและพันธุ์น ้าดอกไม้สีทอง ตามล าดับ สารพาโคล

                  บิวทราโซลใช้มากที่สุด ไร่ละ 2.46 กรัม ในพันธุ์น ้าดอกไม้เบอร์ 4 รองลงมาไร่ละ 1.87  และ  1.32 กรัม

                  ในพันธุ์น ้าดอกไม้สีทองและพันธุ์เขียวเสวย ตามล าดับ ส าหรับสารเร่งการเจริญเติบโต สารก าจัด
                  วัชพืช สารป้องกันและก าจัดศัตรูพืชและโรคพืช มีปริมาณการใช้ไม่มากนัก เป็นต้น

                        จากการศึกษาและวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนรวมทั้งปัญหาความต้องการและ

                  ความคิดเห็นในการผลิตมะม่วง จะเห็นว่ามะม่วงให้ผลตอบแทนเร็ว และระยะคืนทุนเร็ว กล่าวคือ

                  ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ให้ผลตอบแทนภายในระยะเวลา 3 ปี 3 เดือน 25 วัน
                  ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ให้ผลตอบแทนภายในระยะเวลา 4 ปี 11 เดือน 12 วัน

                  และในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ให้ผลตอบแทนภายในระยะเวลา 5 ปี 11 เดือน 12 วัน

                  เนื่องจากได้ผลผลิตและผลตอบแทนต่อปีสูง ทุกระดับความเหมาะสมของพื้นที่ จึงเห็นว่ามะม่วงเป็น
                  ไม้ผลที่ให้ผลตอบแทนดีในระยะยาวไม่ควรโค่นทิ้งเมื่ออายุ 15 ปี ประกอบกับการดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก

                  (จากผลการศึกษาการใช้ปัจจัยการผลิตประเภทต่างๆ) จึงควรส่งเสริมและจูงใจให้เกษตรกรท าสวน

                  มะม่วงต่อไป
                        เมื่อวิเคราะห์ความอ่อนไหวของต้นทุนและรายได้ตามหลักการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยน

                  (Switching Value Test: SVT) เพื่อเป็นเกณฑ์ว่าต้นทุนจะเพิ่มขึ้นได้สูงสุดร้อยละเท่าใด (SVT ) จึงจะ
                                                                                                C
                  ท าให้ผลตอบแทนสุทธิต ่าที่สุด (ไม่ขาดทุน) และรายได้ลดลงมากที่สุดร้อยละเท่าใด (SVT ) ที่จะ
                                                                                                 B
                  ยอมรับท าการลงทุนผลิตได้ จะได้ค่า SVT  ของการผลิตมะม่วงทั้งประเทศ ร้อยละ 87.50 และ
                                                        C
                  ค่า SVT  ตามความเหมาะสมของพื้นที่ 3 ระดับ เท่ากับ ร้อยละ 66.99-147.47 การผลิตมะม่วงรายพันธุ์
                         C
                  (พันธุ์น ้าดอกไม้สีทอง ค่า SVT  ร้อยละ 113.74  พันธุ์น ้าดอกไม้เบอร์ 4 ค่า SVT  ร้อยละ 37.04 และพันธุ์
                                                                                   C
                                           C
                  เขียวเสวย ค่า SVT  ร้อยละ 46.28) จะเห็นว่าการผลิตมะม่วงสามารถที่จะเพิ่มต้นทุนได้มากจึงจะท าให้
                                 C
                  ผลตอบแทนสุทธิต ่าที่สุด ส่วนค่า SVT  การผลิตมะม่วงทั้งประเทศ เท่ากับ ร้อยละ 46.67 ค่า SVT
                                                                                                      B
                                                    B
                  ตามความเหมาะสมของพื้นที่ 3 ระดับ เท่ากับ ร้อยละ 40.11-59.59 และค่า SVT  การผลิตมะม่วง
                                                                                        B
                  รายพันธุ์ (พันธุ์น ้าดอกไม้สีทอง  ค่า SVT  ร้อยละ 53.21 พันธุ์น ้าดอกไม้เบอร์ 4  ค่า SVT  ร้อยละ 27.03
                                                    B
                                                                                           B
                  พันธุ์เขียวเสวย  ค่า SVT  ร้อยละ 31.64) จะเห็นว่าการผลิตมะม่วงสามารถที่จะยอมรับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น
                                      B
                  และรายได้ที่ลดลงกว่า ร้อยละ 30 (ตารางที่ 3-10) ดังนั้นจึงควรแนะน าให้เกษตรกรที่ตั้งใจท าสวน

                  มะม่วงต่อไปให้ดูแลและเพิ่มผลผลิตที่มีคุณภาพในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ซึ่งมีพื้นที่






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123