Page 117 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 117

3-39








                        จากการวิเคราะห์การใช้ปัจจัยการผลิตมะม่วงตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่ จะเห็นว่า

                  เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย 8.75 ไร่ (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) 5.04 ไร่ เหมาะสม
                  ปานกลาง (S2) 8.30 ไร่ และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) 12.19 ไร่) พื้นที่เก็บผลผลิตเฉลี่ย 8.15 ไร่ (พื้นที่ที่มี

                  ระดับความเหมาะสมสูง (S1) 4.30 ไร่ เหมาะสมปานกลาง (S2) 7.77 ไร่ และเหมาะสมเล็กน้อย 11.19 ไร่)

                  จ านวนต้นที่ปลูกต่อไร่ใกล้เคียงกัน คือมะม่วงที่ปลูกในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                  มากที่สุด ไร่ละ 60 ต้น รองลงมา ไร่ละ  50  และ 42 ต้น ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ
                  เหมาะสมเล็กน้อย (S3) ตามล าดับ การใช้ปัจจัยการผลิตตลอดช่วงอายุมะม่วงในพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) ใช้ปัจจัยการผลิตแทบทุกประเภทเป็นปริมาณมากที่สุด ได้แก่ แรงงานคน มะม่วงที่

                  ปลูกในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ใช้แรงงานคนมากที่สุดไร่ละ 9.71 วันต่อคน รองลงมา
                  6.61 และ 5.62 วันต่อคน ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                  ตามล าดับ การใช้แรงงานเครื่องจักรปลูกและดูแลรักษามะม่วงในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                  มากที่สุดไร่ละ 12.39 ชั่วโมง รองลงมาไร่ละ 9.55  และ  6.73 ชั่วโมง ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสม
                  ปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ตารมล าดับ ปริมาณการใช้ปุ๋ ยเคมีเป็นไปตามระดับความ

                  เหมาะสมของพื้นที่ กล่าวคือ พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ปริมาณการใช้ปุ๋ ยมากที่สุดไร่ละ

                  85.17 กิโลกรัม (สูตร 15-15-15 ไร่ละ 55.04 กิโลกรัม สูตร 8-24-24 ไร่ละ 14.40 กิโลกรัม) รองลงมา
                  ไร่ละ 61.75  และ  57.44 กิโลกรัม ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสม

                  เล็กน้อย (S3) ตามล าดับ ปุ๋ ยชีวภาพชนิดเม็ดใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                  ไร่ละ 29.83 กิโลกรัม รองลงมาไร่ละ 13.10  และ  6.78 กิโลกรัม ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสม

                  เล็กน้อย (S3) และเหมาะสมปานกลาง (S2) ตามล าดับ ปุ๋ ยคอกใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับ
                  ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไร่ละ 11.88 กิโลกรัม รองลงมาไร่ละ 10.28  และ  7.76 กิโลกรัม

                  ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) และเหมาะสมสูง (S1) ตามล าดับ สารพาโคลบิวทราโซล

                  ใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ไร่ละ 3.85 กรัม รองลงมาไร่ละ 1.87 และ 1.69 กรัม
                  ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ตามล าดับ เป็นต้น

                        ปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตมะม่วงตลอดช่วงอายุจ าแนกตามรายพันธุ์ พบว่า มะม่วงทั้ง 3 พันธุ์

                  มีการใช้แรงงานคนใกล้เคียงกัน กล่าวคือ พันธุ์น ้าดอกไม้สีทองใช้แรงงานคนไร่ละ 6.69 วันต่อคน

                  รองลงมาไร่ละ 6.52 และ 5.26 วันต่อคน ในพันธุ์น ้าดอกไม้เบอร์ 4 และพันธุ์เขียวเสวย ตามล าดับ
                  แรงงานเครื่องจักรใช้มากที่สุดในการดูแลรักษามะม่วงพันธุ์น ้าดอกไม้เบอร์ 4 ไร่ละ 10.27 ชั่วโมง

                  รองลงมา ไร่ละ 8.79  และ  8.42 ชั่วโมง ในพันธุ์น ้าดอกไม้สีทองและพันธุ์เขียวเสวย ตามล าดับ ปุ๋ ยเคมี

                  ใช้ปริมาณมากที่สุดไร่ละ 75.73 กิโลกรัม ในมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย (สูตร 15-15-15 ไร่ละ 43.75







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122