Page 115 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 115

3-37








                            3)  ทัศนคติของเกษตรกร

                              -  ทัศนคติด้านการใช้ที่ดินและการเพิ่มผลผลิต จากการศึกษาทัศนคติการใช้ที่ดิน

                  ของเกษตรกรที่ปลูกมะม่วงพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ (ร้อยละ86.06) ไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลงการปลูก
                  มะม่วงไปปลูกพืชชนิดอื่น (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 73.91 เหมาะสมปานกลาง

                  ร้อยละ 87.302) ส าหรับแนวคิดในการเพิ่มผลผลิต เกษตรกรมีความคิดว่าควรเพิ่มปุ๋ ยอินทรีย์ ร้อยละ

                  29.83 (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 26.09 เหมาะสมปานกลาง (S2) ร้อยละ 29.97
                  และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ร้อยละ 32.84) เพิ่มปุ๋ ยเคมี ร้อยละ 29.34 (พื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 17.39 เหมาะสมปานกลาง (S2) ร้อยละ 30.29 และเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                  ร้อยละ 29.85) ปรับปรุงบ ารุงดิน ร้อยละ 12.96 (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 8.70
                  เหมาะสมปานกลาง (S2) ร้อยละ 12.70 และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ร้อยละ 16.42) เพิ่มปริมาณ

                  ฮอร์โมน ร้อยละ 6.60 (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 4.35 เหมาะสมปานกลาง (S2)

                  ร้อยละ 6.19 และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ร้อยละ 8.96) เปลี่ยนพันธุ์ใหม่ ร้อยละ 2.20 (พื้นที่ที่มีระดับ
                  ความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 4.35 เหมาะสมปานกลาง (S2) ร้อยละ 1.63 และเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                  ร้อยละ 4.48) ลงทุนจัดหาแหล่งน ้าเพื่อการเกษตร ร้อยละ 1.47 (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                  ร้อยละ 4.35 เหมาะสมเล็กน้อย (S3) ร้อยละ 1.63) (ตารางที่ 3-9)

                              -  ทัศนคติในการเปลี่ยนแปลงอาชีพ จากการศึกษาทัศนคติในการเปลี่ยนแปลง
                  อาชีพของเกษตรกรที่ปลูกมะม่วง พบว่า เกษตรกรแทบทุกรายไม่คิดจะเปลี่ยนไปประกอบอาชีพนอก

                  การเกษตร เนื่องจากอาชีพเกษตรเป็นอาชีพหลักที่ท ามาตลอด ร้อยละ 93.40 (พื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 91.30 เหมาะสมปานกลาง ร้อยละ 93.16 และเหมาะสมเล็กน้อย 95.22)

                  สภาพพื้นที่ไม่เหมาะกับพืชชนิดอื่น ร้อยละ 10.02 (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 4.35
                  เหมาะสมปานกลาง (S2) ร้อยละ 11.40 และเหมาะสมเล้กน้อย (S3) ร้อยละ 7.46) ชราภาพ ร้อยละ 3.91

                  (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 4.35 เหมาะสมปานกลาง (S2) ร้อยละ 4.89)

                  ไม่มีความรู้ในการท าอาชีพอื่น ร้อยละ 2.20 (พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 4.35 เหมาะสม
                  ปานกลาง (S2) ร้อยละ 2.28 และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ร้อยละ 1.49) เป็นต้น (ตารางที่ 3-9)
















                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120