Page 84 - longan
P. 84

4-2




                            3) พื้นที่อยูนอกบริเวณที่กรมทรัพยสินทางปญญาประกาศลําไยเบี้ยวเขียวลําพูน และ

                  ลําไยพวงทองบานแพว เปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)

                        4.1.3 เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยที่ควรสนับสนุนใหปรับเปลี่ยนการผลิตเปนสินคาชนิด
                  อื่น (Z-III) มีขอกําหนดดังนี้
                            1) พื้นที่มีความเหมาะสมดานกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกลําไยเล็กนอย (S3) และ
                  พื้นที่ไมมีความเหมาะสม (N) ในการปลูกลําไย และในปจจุบันมีการเพาะปลูกลําไย

                            2) พื้นที่อยูนอกโครงการระบบสงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญของกรมสงเสริมการเกษตร
                            3) พื้นที่อยูนอกบริเวณที่กรมทรัพยสินทางปญญาประกาศลําไยเบี้ยวเขียวลําพูน และ
                  ลําไยพวงทองบานแพว เปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)


                  4.2  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย

                        จากการวิเคราะหขอมูลดานสารสนเทศภูมิศาสตรประกอบกับขอมูลจากการสํารวจภาคสนาม
                  สามารถกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยไดเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ 1,569,536 ไร (ตารางที่ 4-1)
                  โดยแบงไดดังนี้
                        1) เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยเพื่อยกระดับชุมชนและสงเสริมการพัฒนาสินคา GI (Z-I)
                  มีเนื้อที่ 1,016,350 ไร คิดเปนรอยละ 64.75 ของเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย
                        2) เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยที่มีความเหมาะสมสูง (Z-II) มีเนื้อที่ 268,245 ไร คิดเปน

                  รอยละ 17.09 ของเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย
                        3) เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยที่ควรสนับสนุนใหปรับเปลี่ยนการผลิตเปนสินคาชนิดอื่น
                  (Z-III) มีเนื้อที่ 284,941 ไร คิดเปนรอยละ 18.15 ของเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย
                        ซึ่งพื้นที่ของแตละเขตจะกระจายอยูในภาคเหนือมากที่สุด รองลงมาภาคตะวันออก ภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยในแตละภาคมีรายละเอียดดังนี้

                        ภาคเหนือ มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัด โดยมีเนื้อที่ทั้งหมด
                  1,158,690 ไร คิดเปนรอยละ 73.82 ของเนื้อที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย ซึ่งแบงเปนเขตการใช
                  ที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยเพื่อยกระดับชุมชนและสงเสริมการพัฒนาสินคา GI (Z-I) มีเนื้อที่ 641,416 ไร
                  คิดเปนรอยละ 55.36 ของเนื้อที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยภาคเหนือ เขตการใชที่ดินพืช
                  เศรษฐกิจลําไยที่มีความเหมาะสมสูง (Z-II) มีเนื้อที่ 252,368 ไร คิดเปนรอยละ 21.78 ของเนื้อที่เขตการ

                  ใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยภาคเหนือ และเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยที่ควรสนับสนุนใหปรับเปลี่ยน
                  การผลิตเปนสินคาชนิดอื่น (Z-III) มีเนื้อที่ 264,906 ไร คิดเปนรอยละ 22.86 ของเนื้อที่เขตการใชที่ดิน
                  พืชเศรษฐกิจลําไยภาคเหนือ เมื่อพิจารณาจังหวัดที่มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินมากในภาคเหนือ พบวาจังหวัด
                  เชียงใหมเปนจังหวัดที่มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินมากที่สุดในภาคเหนือ มีเนื้อที่ทั้งหมด 434,297 ไร
                  รองลงมาเปนจังหวัดลําพูน มีเนื้อที่ทั้งหมด 326,832 ไร จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ทั้งหมด 142,486 ไร

                  จังหวัดพะเยา มีเนื้อที่ทั้งหมด 108,008 จังหวัดนาน มีเนื้อที่ทั้งหมด 78,543 ไร จังหวัดลําปาง มีเนื้อที่
                  ทั้งหมด 37,368 ไร และจังหวัดตาก มีเนื้อที่ทั้งหมด 31,156 ไร ตามลําดับ
                        ภาคตะวันออก มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยครอบคลุมพื้นที่ 2 จังหวัด โดยมีเนื้อที่
                  ทั้งหมด 387,066 ไร คิดเปนรอยละ 24.66 ของเนื้อที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย ซึ่งแบงเปนเขต







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย                                กองนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89