Page 83 - longan
P. 83

4-1




                                                         บทที่ 4

                                                    เขตการใชที่ดิน




                        การกําหนดเขตเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจลําไย เปนการกําหนดเขตตามศักยภาพของที่ดินที่มี
                  ความเหมาะสมสําหรับการปลูกลําไย โดยแบงออกเปนพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับปลูกลําไย และคํานึงถึง

                  พื้นที่เปาหมายดําเนินงานโครงการระบบสงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญของกรมสงเสริมการเกษตร (กรม
                  สงเสริมการเกษตร, 2564) การรับรองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ลําไยเบี้ยวเขียวลําพูน 6 ตําบลของ
                  อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน (ตําบลหนองชางคืน ตําบลอุโมงค ตําบลเหมืองงา ตําบลตนธง ตําบลริมปง
                  และตําบลประตูปา (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2560) และการรับรองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ลําไย

                  พวงทองบานแพว ของอําเภอบานแพว และอําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร (กรมทรัพยสินทาง
                  ปญญา, 2563) เพื่อใหปริมาณผลผลิตมีความสอดคลองกับความตองการของตลาด และสอดคลองตาม
                  ยุทธศาสตรลําไย ทั้งนี้ ภายใตโมเดลเกษตรผลิตพาณิชยตลาดตามยุทธศาสตรตลาดนําการผลิต และ

                  แนวทางในการบริหารจัดการผลไมในสภาวะวิกฤติโควิด-19 โดยเนนรวมบูรณาการทุกภาคสวน และ
                  การใชเทคโนโลยีเพื่อยืดอายุผลผลิต และแปรรูปยกระดับสูอุตสาหกรรมเกษตรอาหารเพิ่มมูลคา
                  รายไดใหมากขึ้น ซึ่งในป 2565 และปตอ ๆ ไปไดวางเปาหมายพลิกโฉมภาคเกษตรไทยมุงเนนการทํา
                  เกษตรมูลคาสูง ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (2560 -2564) ในมิติภาค
                  การผลิตและบริการเปาหมายหมุดหมายที่ 1 ไทยเปนประเทศชั้นนําดานสินคาเกษตร และเกษตร

                  มูลคาสูง มุงเนนการสรางมูลคาของสินคาเกษตรและเกษตรแปรรูป โดยอาศัยเทคโนโลยีและ
                  นวัตกรรม การเพิ่มประสิทธิภาพของโครงสรางพื้นฐานของภาคเกษตร และการสนับสนุนบทบาท
                  ของผูประกอบการเกษตร


                  4.1  หลักเกณฑและวิธีการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย

                        การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจในครั้งนี้ไดดําเนินการเฉพาะในพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมที่
                  อยูนอกเขตปาไมตามกฎหมายเทานั้น (เขตพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย ไดแกปาสงวนแหงชาติ เขตอุทยาน
                  แหงชาติ และเขตรักษาพันธุสัตวปา) โดยอาศัยหลักเกณฑ และวิธีการในการกําหนดเขตการใชที่ดินพืช
                  เศรษฐกิจลําไย ดังนี้

                        4.1.1 เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยเพื่อยกระดับชุมชนและสงเสริมการพัฒนาสินคา GI

                  (Z-I) มีขอกําหนดดังนี้
                            1) พื้นที่อยูในโครงการระบบสงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญของกรมสงเสริมการเกษตร
                            2) พื้นที่อยูในบริเวณที่กรมทรัพยสินทางปญญาประกาศลําไยเบี้ยวเขียวลําพูน และลําไย
                  พวงทองบานแพว เปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)

                        4.1.2 เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยที่มีความเหมาะสมสูง (Z-II) มีขอกําหนดดังนี้

                            1)  พื้นที่มีความเหมาะสมดานกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกลําไยปานกลาง (S2) ถึงสูง
                  (S1) และในปจจุบันมีการเพาะปลูกลําไย
                            2) พื้นที่อยูนอกโครงการระบบสงเสริมเกษตรแบบแปลงใหญของกรมสงเสริมการเกษตร





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย                                กองนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88