Page 64 - longan
P. 64

3-26




                             1) โควิด กระทบทั้งแรงงานที่เก็บล าไยหายากเพราะกังวลการติดเชื้อโควิด การไม่มีพื้นที่

                  ขายผลผลิตจากมาตรการล็อกดาวน์และการตรวจเข้มจากการขนส่งไปประเทศจีนหากตรวจผลว่า
                  ผลไม้ครั้งที่ 1 จะห้ามรถและสินค้าของบริษัทนั้นเข้าประเทศชั่วคราว 10-15 วัน หากตรวจพบครั้งที่
                  2 ห้ามรถสินค้าของบริษัทนั้นเข้าประเทศอย่างถาวร

                             2) ปัญหาคุณภาพล าไยจากเพลี้ยแป้ง ซึ่งเป็นประเด็นที่จีนห้าม 66 บริษัทไทยส่งล าไยไป
                  จีน (แม้ว่าจะปลดล๊อกไปแล้วก็ตาม) แต่มีผลต่อจิตวิทยาต่อตลาดจีนไปแล้ว เราต้องหันมาให้
                  ความส าคัญต่อการพัฒนาคุณภาพเพื่อลดเพลี้ยแป้งอย่างจริงจัง ผ่านการจัดการสวนที่ดี
                             3) ผลผลิตประเทศคู่แข่งและคู่ค้าออกมามาก ปี 2564 เวียดนาม (เรียกล าไยว่า ลอง
                  ยาน Long Nhãn) ผลิตล าไยเพิ่มขึ้นจาก 5 แสนตันเป็น 6 แสนตัน ส่วน 2 มณฑลใหญ่ของจีน กว่างซี่

                  ผลผลิตเพิ่ม 40% ขณะที่กว่างโจวเพิ่มขึ้น 50% พื้นที่ปลูกล าไยจีนในฟู่เจี้ยน และไต้หวันก็เพิ่มเช่นกัน
                  ท าให้ “ปี 2564 จีนสามารถผลิตล าไย 4 ล้านตัน”
                              4) การบริหารจัดการราคาระหว่างเกษตรถึงผู้บริโภค “ผิดพลาด” จากการก าหนด

                  ราคาสูงเกินไป ท าให้ผู้บริโภคถอยเพราะไม่มี “ก าลังซื้อ” ขณะที่ตลาดล าไยในต่างประเทศปี 2563
                  ไทยส่งออกล าไยสดไปทั่วโลก 4.7 แสนตัน มูลค่า 1.7 หมื่นล้านบาทไปจีน 3.5 แสนตัน (สัดส่วน
                  75%) มูลค่า 1.3 หมื่นล้านบาท ตามด้วยส่งออกไปตลาดเวียดนาม อินโดนีเซียและฮ่องกง และ
                  ส่งออกล าไยอบแห้ง 1.5 แสนตัน มูลค่า 7.2 พันล้านบาทไปจีน 1.4 แสนตัน (สัดส่วน 93%) ตามด้วย

                  การส่งออกไปตลาดเวียดนามอินโดนีเซียเหมือนเดิม ส าหรับ “เส้นทางของล าไย (ห่วงโซ่การ
                  ผลิต)” หลังจากล าไยออกจากสวนแล้วไปไหนบ้าง 45% ไปขายเป็นล าไยสด (บริโภคในประเทศ 40%
                  และส่งออก 60%) 50 % ไปเป็นล าไยอบแห้งทั้งเปลือก 5% เป็นล าไยเนื้อสีทอง ที่เหลือเป็นล าไย
                  กระป๋องและแช่แข็ง

                              โดยได้มีการเสนอทางออกเพื่อแก้ปัญหาราคาล าไยอย่างถาวร โดยเฉพาะปี 2565

                  (ฐานเศรษฐกิจ, 2564)
                             1) ท าแผนการตลาดต่างประเทศใหม่ อย่าขายเฉพาะตลาดจีน กระจายไปที่ตลาด

                  อาเซียนอินเดีย ยุโรปและตะวันออกกลาง
                             2) บริหารจัดการแผนการจ าหน่ายผลผลิตใหม่ ได้แก่ ล าไยนอกฤดู จัดโซนนิ่งการผลิต
                  แต่ต้องดูปริมาณการผลิตประเทศคู่แข่งด้วย
                             3) สร้างแพลตฟอร์มถาวร ระหว่างขายล าไยเกษตรกับผู้บริโภคถาวร ไม่ใช่ชั่วคราว และ
                  สร้างระบบที่ตรวจสอบ ส่งตรงเวลา การคืนสินค้าอย่างสมบูรณ์เหมือนกับแพลตฟอร์มออนไลน์ที่ได้รับ

                  ความนิยม
                             4) ลดต้นทุนการจัดการสวนล าไย เมื่อต้นทุนที่เป็นค่าจ้างรายวันไม่สามารถลดได้ เน้น
                  ลดต้นทุนการจัดการสวนล าไย ตัดพุ่มเตี้ย จะท าให้ผลผลิตและก าไรเพิ่มขึ้น และบริหารจัดการลดน ้า

                  เป็นต้น
                             5) เครื่องท าความสะอาดล าไย เพื่อแก้ปัญหาเพลี้ยแป้งยั่งยืน
                             6) ภาวะโลกร้อน ท าให้ขนาดของผลล าไยลดลงมากเมื่อเทียบกับ 10 ปีที่แล้ว ต้องมี
                  แผนการแก้ปัญหาเร่งด่วน






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69