Page 63 - longan
P. 63

3-25




                  3.2  การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม

                        ล ำไยเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยสำรอำหำรและมีรสชำติดี สำมำรถน ำมำรับประทำนได้หลำกหลำย
                  รูปแบบทั้งสดและแปรรูป เมื่อพิจำรณำช่วง 5 ปีที่ผ่ำนมำ (ปี 2560 – 2564) ปริมำณและมูลค่ำกำร

                  ส่งออกล ำไยมีแนวโน้มลดลง รำคำล ำไยมีแนวโน้มลดลง
                        3.2.1 ต้นทุน รายได้ และผลตอบแทนการผลิต

                             จากการส ารวจการปลูกล าไยในพื้นที่จังหวัดล าพูน เชียงใหม่ และเชียงราย พบว่า
                  เกษตรกรผู้ปลูกล าไยแบ่งเป็นสองกลุ่ม ได้แก่ เกษตรกรกลุ่มที่มีการผลิตล าไยในฤดูกาล และกลุ่มที่มีการ
                  ผลิตล าไยนอกฤดูกาลโดยใช้วิธีการตัดแต่งกิ่ง ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยไร่ละ 13,350-18,376 บาท ผลผลิต

                  เฉลี่ยไร่ละ 1,032-1,535 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5-17 บาท ผลตอบแทนไร่ละ
                  5,160-26,095 บาท ผลตอบแทนสุทธิ (ขาดทุน) ไร่ละ 7,719-8,190 บาท  ต้นทุนส่วนใหญ่เป็น
                  ค่าแรงงานในการดูแลรักษา และเก็บเกี่ยว (ในปี 2564 ค่าแรงงานเก็บเกี่ยวเฉลี่ยกิโลกรัมละ 6 บาท)

                        3.2.2 ปัญหา และข้อเสนอแนะในการผลิตพืช
                             รายงานจากฐานเศรษฐกิจ (2564) เรื่องปัญหาราคาล าไยปี 2564 “ต ่าสุดในรอบ 10 ปี”

                  โดยส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) คาดการณ์ว่าในปี 2564 ผลผลิตล าไยจะเพิ่มเป็น 1.4 ล้าน
                  ตัน จาก 1.2 ล้านตันในปี 2563 นั้นหมายความว่า ปี 2564 ผลผลิตล าไยเพิ่มขึ้น 2 แสนตัน เพิ่มขึ้น
                  เฉลี่ย 20% แล้วปี 2565 ราคาจะตกต ่าเหมือนปี 2564 หรือไม่
                              ปัจจุบันมีครัวเรือนเกษตรกรปลูกล าไยทั้งประเทศ 2.5 แสนครัวเรือน (จ านวนเพิ่มขึ้น

                  ทุกปี) โครงสร้างพื้นที่ผลผลิตล าไยไทย มี 2 พื้นที่ที่ปลูกมากคือ “ภาคเหนือสัดส่วน 69%” ของ
                  ผลผลิตทั้งประเทศประกอบด้วย 8 จังหวัดคือ เชียงใหม่ (29%) ล าพูน(25%) เชียงราย (8%) พะเยา
                  (3%) ล าปาง (0.5%) ตาก (1.5%) แพร่ (0.2%) และน่าน (1.9%) อีก 25% เป็นผลผลิตของจังหวัด

                  ภาคตะวันออก จังหวัดหลักคือ จันทบุรี (20%) และสระแก้ว (5%)
                              ในช่วงเดือน ส.ค ถึง ก.ย. ของทุกปีถือเป็น 2 เดือนส าคัญของผลผลิตล าไยในฤดูของ
                  ภาคเหนือที่ออกสู่ตลาด ปี 2564 ผลผลิตภาคเหนือจะเพิ่มขึ้นอีก 1.6 แสนตัน (จากปี 2563 ที่ผลิต 8
                  แสนตัน เพิ่มเป็น 9.7 แสนตัน) เพิ่มขึ้น 21% ท าให้สถานการณ์ล าไยปี 2564 คือ “ผลผลิตมาก ความ
                  ต้องการหด” ส่งผลต่อราคาในปัจจุบันปรับตัวลดลง ราคาเฉลี่ยล าไยจังหวัดล าพูน ณ วันที่ 15

                  สิงหาคม 2564 (อ้างอิงจากสวนล าไยของคุณนิโรจน์ แสนไชย เกษตรกรบ้านหมู่ที่ 1 ต าบลวังผาง
                  อ าเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดล าพูน) เฉลี่ยอยู่ ที่ 10 บาทต่อกิโลกรัม ราคาล าไยร่วง ณวันที่ 16 ส.ค.
                  2564 เกรด AA ราคา 13 บาท/กิโลกรัม เกรด A ราคา 4 บาท/กิโลกรัม เกรด B ราคา 1 บาท/

                  กิโลกรัม เกรด C ไม่มีใครซื้อ (อ้างอิงจากคุณสมศรี สีฝั้น ประธานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มปลูกล าไยบ้าน
                  สันป่าตองใต้ เชียงใหม่) ซึ่งถือว่า “ต ่ามากเมื่อเทียบกับราคาปี 2563” อยู่ที่ 20-25 บาทต่อกิโลกรัม
                             เมื่อพิจารณาราคาตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563 พบว่า ราคาล าไยเฉลี่ยลดลงอย่างต่อเนื่อง
                  (ปี 2559 เกรด AA 38 บาท/กิโลกรัม ปี 2563 เหลือ 28 บาท/กิโลกรัม) ซึ่งเกษตรกร
                  จะ “ขาดทุน” เพราะต้นทุนล าไยเฉลี่ย 10-15 บาท/กิโลกรัม (เฉลี่ย 12 บาท/กิโลกรัม) 50% เป็น

                  ต้นทุนค่าจ้างคนเก็บ 6 บาท/กิโลกรัม เหตุผลที่ท าให้ราคาล าไยในปัจจุบัน “ราคาตก” เป็นด้วย 4
                  สาเหตุคือ





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68