Page 103 - longan
P. 103

4-21




                  4.4  สรุปและขอเสนอแนะ

                        4.4.1 สรุป
                            จากการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย ในพื้นที่เพื่อการเกษตรกรรมนอกเขตปา

                  ไมตามกฎหมายเนื้อที่ประมาณ 165 ลานไร โดยดําเนินการเฉพาะในพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดิน
                  ปจจุบันเปนการปลูกลําไย พบวา
                            1) เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยทั้งประเทศ รวมเนื้อที่ 1,569,536 ไร โดยสามารถ
                  แบงเขตการใชที่ดินตามความเหมาะสมไดดังนี้ เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยเพื่อยกระดับชุมชน

                  และสงเสริมการพัฒนาสินคา GI (Z-I) มีเนื้อที่ 1,016,350 ไร เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยที่มีความ
                  เหมาะสมสูง (Z-II) มีเนื้อที่ 268,245 ไร และเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยที่ควรสนับสนุนให
                  ปรับเปลี่ยนการผลิตเปนสินคาชนิดอื่น (Z-IV) มีเนื้อที่ 284,941 ไร

                            2) เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยรายภาค สามารถแบงเขตการใชที่ดินรายภาคได
                  ดังนี้ ภาคเหนือ เนื้อที่ 1,158,690 ไร ภาคตะวันออก เนื้อที่ 387,066 ไร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื้อที่

                  19,221 ไร และภาคกลาง 4,559 ไร

                            3) เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยรายจังหวัด สามารถแบงเขตการใชที่ดินรายจังหวัด
                  ที่มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินมากไดดังนี้ จังหวัดเชียงใหม มีเนื้อที่ทั้งหมด 434,297 ไร รองลงมาเปนจังหวัด
                  จันทบุรี มีเนื้อที่ทั้งหมด 356,945 ไร จังหวัดลําพูน มีเนื้อที่ทั้งหมด 326,832 ไร จังหวัดเชียงราย มีเนื้อ
                  ที่ทั้งหมด 142,486 ไร จังหวัดพะเยา มีเนื้อที่ทั้งหมด 108,008 ไร จังหวัดนาน มีเนื้อที่ทั้งหมด 78,543 ไร

                  จังหวัดลําปาง มีเนื้อที่ทั้งหมด 37,368 ไร จังหวัดตาก มีเนื้อที่ทั้งหมด 31,156 ไร จังหวัดสระแกว มี
                  เนื้อที่ทั้งหมด 30,121 ไร จังหวัดเลย มีเนื้อที่ทั้งหมด 19,221 ไร และจังหวัดสมุทรสาคร มีเนื้อที่
                  ทั้งหมด 4,559 ไร ตามลําดับ

                        4.4.2 ขอเสนอแนะ
                            สําหรับแนวทางการพัฒนาพื้นที่ในเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยนั้นควรมีการจัดการ

                  พื้นที่เพื่อใหเหมาะสมกับการผลิตลําไยในแตละเขตการใชที่ดิน โดยคํานึงถึงขอเสนอแนะและมาตรการ
                  ตาง ๆ ที่จะดําเนินการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อชวยสงเสริมและสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่ม
                  ผลผลิต และลดตนทุนการผลิต รวมทั้งพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพลําไยใหมีมากยิ่งขึ้น โดยมีขอเสนอแนะดังนี้

                             ขอเสนอแนะดานการวิจัยและพัฒนาเพื่อนําไปสูการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                             1) ลดตนทุนการจัดการสวนลําไย เมื่อตนทุนที่เปนคาจางรายวันไมสามารถลดได เนน

                  ลดตนทุนการจัดการสวนลําไย ตัดพุมเตี้ย จะทําใหผลผลิตและกําไรเพิ่มขึ้น และบริหารจัดการลดน้ํา
                  เปนตน
                             2) พัฒนาเครื่องทําความสะอาดลําไย เพื่อแกปญหาเพลี้ยแปงยั่งยืน

                             3) ตองสนับสนุนแผนการแกปญหาเรงดวนจากภาวะโลกรอนที่ทําใหขนาดของผลลําไย
                  ลดลงมากเมื่อเทียบกับ 10 ปที่แลว











                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย                                กองนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108