Page 102 - longan
P. 102

4-20




                        4.3.5 มาตรการดานพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศ

                              1) พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศ โดยการพัฒนาฐานขอมูลดานการผลิตการตลาดที่
                  ครอบคลุมสําหรับลําไย จัดทําฐานขอมูลการสรางคุณคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑลําไย
                              2) พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไยในพื้นที่

                  ที่เหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน
                        นอกจากนี้ จากการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนที่ใชในกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย

                  พบวายังมีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกลําไยอยูในเขตปาไมตามกฎหมาย (657,493 ไร) จึงควรมี
                  มาตรการเพื่อรองการจัดการในพื้นที่ดังกลาว เชน
                            1) มาตรการเพื่อแกไขปญหาการบุกรุกพื้นที่ปาไม โดยใชมาตรการตามมติคณะรัฐมนตรี

                  เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่อง “มาตรการและแนวทางการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม” ในสวนที่
                  เกี่ยวของกับพื้นที่ปาอนุรักษ ซึ่งมีมติยืนยันไมใหนําพื้นที่ดังกลาวไปปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร ทั้งนี้ให
                  กรมปาไมขึ้นทะเบียนผูครอบครองพื้นที่ในเขตดังกลาวใหชัดเจน หามมิใหมีการขยายพื้นที่เพิ่มเติม และ
                  รับรองสิทธิ์ที่ดินตามกฎหมาย แตถาพื้นที่มีความเสี่ยงตอการคุกคามระบบนิเวศตองทําการชวยเหลือให

                  ราษฎรมีที่อยูอาศัยและที่ทํากินแหงใหม หรือยายออกไปอยูในบริเวณที่เหมาะสม โดยรัฐบาลจะ
                  สนับสนุนดานสาธารณูปโภคและการฝกอาชีพ และพื้นที่เดิมที่ยายราษฎรออกใหดําเนินการฟนฟูดวย
                  การปลูกปาทดแทน
                            สวนกรณีที่ราษฎรอาศัยอยูหลังวันประกาศเปนเขตปาสงวนแหงชาติ ใหกรมปาไม

                  เคลื่อนยายราษฎรออกจากพื้นที่ปาอนุรักษไปอยูในพื้นที่รองรับที่จัดไว โดยมีการสนับสนุนดาน
                  สาธารณูปโภค การพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งการรับรองสิทธิ์ที่ดินตามกฎหมาย หากยังไมสามารถ
                  เคลื่อนยายไดทันทีใหควบคุมมิใหมีการขยายพื้นที่เพิ่ม โดยตองจัดระเบียบที่อยูอาศัยและที่ทํากินให
                  เพียงพอตอการดํารงชีพ และพื้นที่เดิมที่ยายราษฎรออกใหดําเนินการฟนฟูดวยการปลูกปาทดแทน

                  ในกรณีที่ตองจัดทําขอบเขตที่ทํากินใหกับราษฎรตามผลการตรวจสอบพิสูจนสิทธิ์การครอบครองในพื้นที่
                  หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของตองหามาตรการในการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําเปนพิเศษสําหรับพื้นที่ที่มี
                  ความลาดชันสูงและเปนดินตื้น

                            2) ใชมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 เรื่องมาตรการดานการปองกันรักษา
                  และฟนฟูสภาพปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2551-2552
                            3) ใชพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 หมวด 2 เรื่องการควบคุม และรักษา
                  ปาสงวนแหงชาติ
                            4) ยึดการปฏิบัติตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 จัดทําบนพื้นฐาน

                  ของกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ซึ่งเปนแผนหลักของการพัฒนาประเทศ และ
                  เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสราง
                  ประเทศไทยไปสูประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากนั้นไดใหความสําคัญกับ

                  การมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาทุกภาคสวน เพื่อรวมกันกําหนดวิสัยทัศนและทิศทางการพัฒนา
                  ประเทศ รวมทั้งรวมจัดทํารายละเอียดยุทธศาสตรของแผนฯ เพื่อมุงสู “ความมั่งคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย                                กองนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107