Page 101 - longan
P. 101

4-19




                            5) สนับสนุนการพัฒนาแหลงน้ํา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ํา

                            6) สนับสนุนการปรับปรุงบํารุงดินอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุในดินและเพิ่ม
                  คุณภาพผลผลิต

                        4.3.2 มาตรการดานการบริหารจัดการการตลาด
                             1) พัฒนาตลาดในประเทศ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพของตลาดกลางในแหลงผลิตลําไย
                  เพิ่มประสิทธิภาพของตลาดกลางในแหลงผลิตลําไย เพิ่มปริมาณการรวบรวมและจําหนายผลผลิต

                  คุณภาพผานสถาบันเกษตรกร สงเสริม และสนับสนุนการกระจายลําไยไปยังจังหวัดนอกแหลงผลิต เพิ่ม
                  ประสิทธิภาพการกํากับดูแลการนําเขาลําไยจากตางประเทศ สงเสริมการสรางชองทางการตลาดรูปแบบ
                  ใหม ตลอดจนสงเสริมการสรางระบบตลาดออนไลน พัฒนาเสนทางคมนาคมที่สะดวกสบาย เพื่องายตอ

                  การขนสงผลผลิตจากแปลงของเกษตรกรสูแหลงรับซื้อผลผลิต
                             2) พัฒนาตลาดสงออกตางประเทศ โดยการสนับสนุนและอํานวยความสะดวกให
                  ภาคเอกชนในการดําเนินงานศูนยกระจายสินคาในตางประเทศ สนับสนุนการเปดตลาดใหม สนับสนุน
                  การรักษาและขยายตลาดเดิม แกไขปญหาอุปสรรคดานกฎระเบียบการสงออก/นําเขา พัฒนาเครือขาย

                  การสงออกและระบบโลจิสติกส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานการขนสงใหเกิดความรวดเร็วทันตอความ
                  ตองการ
                             3) สรางมูลคาเพิ่มของลําไยสดและผลิตภัณฑแปรรูปจากลําไย โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ
                  แปรรูปลําไย การพัฒนาบรรจุภัณฑลําไยสดและแปรรูป (ลําไยกระปอง ลําไยอบแหง ลําไยแชแข็ง ฯลฯ)

                             4) สงเสริมการบริโภคผลไมและการประชาสัมพันธ โดยการประชาสัมพันธแหลงผลิตลําไย
                  คุณภาพดี รณรงคสงเสริมการบริโภคลําไยและผลิตภัณฑลําไยทั้งในและตางประเทศ

                        4.3.3 มาตรการดานการวิจัยและพัฒนา
                             1) สนับสนุนการวิจัยดานการผลิต โดยวิจัยการพัฒนาคุณภาพผลผลิต วิจัยเทคโนโลยีหลัง
                  การเก็บเกี่ยว วิจัยการแปรรูปผลิตภัณฑ วิจัยและพัฒนาพันธุที่ใหผลผลิตตอไรสูง ทนทานตอโรคและ

                  แมลง และคุณภาพสอดคลองกับความตองการของตลาดสงออกและภายในประเทศ เชน ขนาดผล
                  รสชาติ เพื่อการบริโภคลําไยสด หรือเพื่อการแปรรูป
                             2) สนับสนุนการวิจัยดานการตลาด โดยวิจัยพฤติกรรมการบริโภคลําไย วิจัยระบบโลจิสติกส
                  วิจัยคุณคาทางโภชนาการและการใชประโยชนของลําไย ตลอดจนวิจัยการนําสาร15สกัด15จาก15เมล็ดลําไย15มา

                  ทดลองแปรรูปเปนครีมนวดหัวเขาและนวดกลามเนื้อที่อักเสบ หรือการวิจัยสารสกัดจากเมล็ดลําไยที่
                  ยับยั้งปองกันการกอมะเร็ง เปนตน
                             3) บริหารจัดการงานวิจัย ใหมีหนวยงานกลางในการกํากับดูแล การรวบรวมงานวิจัย การ

                  เขาถึงและใชประโยชนงานวิจัยและมีมาตรฐานรองรับงานวิจัย
                        4.3.4 มาตรการดานพัฒนาองคกรและเกษตรกร

                             1) สรางความเขมแข็งใหองคกรและเกษตรกร โดยจัดตั้งกลุมและสรางเครือขายการพัฒนา
                  องคกรเกษตรกร/ภาครัฐ การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนใหเปนนิติบุคคล
                             2) พัฒนาเกษตรกรรายเดี่ยว โดยการพัฒนาเกษตรกรรายใหญ/Smart Farmer ให

                  สามารถเปนผูประกอบการไดเอง





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลําไย                                กองนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106