Page 16 - coffee
P. 16

1-4






                   1.4.3  การนําเขาและวิเคราะหขอมูล

                             การนําเขาและวิเคราะหขอมูลเฉพาะดาน นําเขาขอมูลเชิงอรรถาธิบายและขอมูลเชิงพื้นที่

                  ดวยโปรแกรมตางๆ โดยทําการศึกษาและวิเคราะหดังนี้

                          1)  ศึกษาและวิเคราะหการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจกาแฟในสภาพปจจุบันจากขอมูล
                  สภาพการใชประโยชนที่ดินโดยการวิเคราะหแปลความจากภาพถายทางอากาศสี (Colour Ortho Photo)

                  และภาพถายดาวเทียมรวมกับขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนาม

                          2)  วิเคราะหความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจกาแฟ เพื่อประเมิน
                  คุณภาพที่ดินแยกตามกลุมชุดดิน จากรายงานความเหมาะสมของพืชเศรษฐกิจ โดยศึกษารวมกับการใชที่ดิน

                  และการจัดการพื้นที่ พรอมทั้งจัดทําแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                      3)  ซอนทับแผนที่กลุมชุดดิน สภาพการใชที่ดิน ความเหมาะสมของที่ดิน ขอบเขตปาไม

                  ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี ขอบเขตการปกครอง แผนที่เสนชั้นน้ําฝนโดยใชโปรแกรม
                  ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และสรางเงื่อนไขเพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ ดังตอไปนี้

                       -  การกําหนดเขตการใชที่ดินตองอยูนอกเขตปาไมตามกฎหมาย และภายใตขอหาม

                  การใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมตามมติคณะรัฐมนตรี (เขตปาไมที่ใชศึกษาเปนเขตโดยประมาณเทานั้น
                  ไมสามารถอางอิงทางกฎหมายได เพื่อความถูกตองควรตรวจสอบกับหนวยงานที่รับผิดชอบกอนนําไปใช)

                       -  การคัดเลือกพื้นที่เบื้องตนไดจากการพิจารณาพื้นที่ที่มีการใชที่ดินเพื่อการปลูก

                  กาแฟอยูจริงในปจจุบันและอยูนอกเขตปาไมตามกฎหมายรวมถึงพื้นที่รองรับการเปลี่ยนแปลง
                  การใชที่ดินจากเขตปาไมตามกฎหมายเพิ่มเติมในภาคใต โดยคัดเลือกจากพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสม

                  อยูในระดับสูง ปานกลาง และเล็กนอย พื้นที่ดังกลาวขางตนตองอยูในบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่ปลูกจริง

                  ในปจจุบัน ซึ่งในอนาคตเกษตรกรอาจจะนําพื้นที่ในบริเวณดังกลาวมาใชในการปลูกกาแฟ
                           -  การกําหนดเขตการใชที่ดินตองมีเปาหมายในการผลิตที่สอดคลองกับยุทธศาสตร

                  กาแฟของกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยการไมเพิ่ม/ขยายพื้นที่การปลูกกาแฟ

                      4)  การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจ

                       4.1)  การวิเคราะหเพื่อประเมินความเหมาะสมของพืชกับสภาพพื้นที่ประกอบกับ
                  ขอมูลเชิงพื้นที่ของผลผลิตกาแฟที่เกษตรกรเพาะปลูกในกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมที่แตกตางกัน

                  เปนการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหสามารถคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมทั้งทางดานกายภาพของพื้นที่

                  และผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจที่มีลักษณะคลายคลึงกัน ในการนี้ไดใชปจจัยผลผลิตเฉลี่ยตอไร

                  ของการผลิตกาแฟในกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)  กลุมดินที่มีระดับความเหมาะสม
                  ปานกลาง (S2) และกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมเล็กนอย (S3) เปนเครื่องมือในการตัดสินใจโดยใช

                  หลักการวิเคราะหทางดานสถิติ






                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21