Page 14 - coffee
P. 14

1-2






                  เกษตรกรพอใจมากกวา จึงทําใหเกษตรกรเปลี่ยนพื้นที่จากการปลูกกาแฟไปเพื่อใชในการปลูก

                  พืชชนิดอื่นที่มีราคาสูงกวาแทน และจากการที่สภาวะอากาศมีความผันผวน สงผลใหผลผลิตกาแฟ

                  ลดปริมาณลงจนไมเพียงพอสําหรับการบริโภคภายในประเทศ ทําใหในปที่ผานมาตองมีการนําเขา
                  เมล็ดกาแฟจากตางประเทศประมาณ 6,183 ตัน  ซึ่งประเทศคูแขงในการผลิตกาแฟที่สําคัญของไทย

                  ไดแก สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และอินโดนีเซีย เนื่องจากประเทศดังกลาวสามารถผลิตกาแฟที่

                  ใหผลผลิตตอไรสูง และมีตนทุนการผลิตตอไรต่ํากวาประเทศไทย จากสถานการณดังกลาวขางตน

                  จึงมีความจําเปนตองมีการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใหสามารถแขงขันในตลาดสินคา
                  กาแฟได

                        ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของจึงควรมีการสงเสริมและสนับสนุนดานการผลิตพืชกาแฟ เพื่อเพิ่ม

                  ผลผลิตใหเพียงพอกับความตองการใชภายในประเทศ และเพื่อลดการนําเขา สรางมูลคาและรายได

                  เพิ่มจากการปลูกกาแฟ สรางเสถียรภาพดานราคาใหแกเกษตรกร สงเสริมใหอุตสาหกรรมที่ใชเมล็ดกาแฟ
                  เปนวัตถุดิบสามารถแขงขันกับประเทศคูแขงทางการคาได และจากการที่พื้นที่เพาะปลูกกาแฟ

                  มีแนวโนมลดลง รวมทั้งปริมาณผลผลิตตอไรลดต่ําลง กรมพัฒนาที่ดินจึงไดดําเนินการวิเคราะหขอมูล

                  พื้นฐานเพื่อกําหนดเขตพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการปลูกกาแฟ และเสนอแนะแนวทางการใชที่ดิน
                  ใหตรงตามศักยภาพของพื้นที่ โดยยึดตามเปาหมายการผลิตในยุทธศาสตรกาแฟป 2552-2556 เปนหลัก

                  ซึ่งการกําหนดเขตพื้นที่ดังกลาวยังสามารถนําไปใชเปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนการเพาะปลูกกาแฟ

                  และสามารถใชคาดการณผลผลิตใหมีปริมาณสอดคลองกับความตองการของตลาดไดอยางเปนระบบ
                  ดังนั้นการกําหนดเขตพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการปลูกกาแฟจึงเปนสวนสําคัญในกระบวนการเริ่มตน

                  ของการกําหนดนโยบายดานการเพิ่มศักยภาพการใชพื้นที่เพื่อการเพิ่มผลผลิต นอกจากนี้ยังเปนการ

                  บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเปนไปอยางยั่งยืน สอดคลองกับแผนพัฒนา
                  การเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับปจจุบัน



                  1.2  วัตถุประสงค

                        1.2.1 เพื่อเปนการกําหนดบริเวณสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจกาแฟใหเหมาะสมกับศักยภาพ
                  ของที่ดิน และสอดคลองกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนนโยบายและกฎหมายในการใช

                  ที่ดินของภาครัฐ เพื่อใหมีการผลิตและการใชที่ดินอยางยั่งยืน

                        1.2.2 เพื่อใชเปนกรอบและแนวทางในการกําหนดแผนงานพัฒนาพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                        1.2.3 เพื่อเปนฐานขอมูลในการวางแผนการผลิตและการตลาด










                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19