Page 13 - coffee
P. 13

บทที่ 1

                                                         บทนํา




                  1.1  หลักการและเหตุผล


                        การเปดเขตการคาเสรีอาเซียนกับประเทศเพื่อนบานภายใตขอตกลงอาฟตา (AFTA) คาดวา
                  จะสงผลกระทบโดยตรงตอภาคการเกษตรจากการนําเขาผลผลิตทางการเกษตรราคาถูกจากประเทศ

                  เพื่อนบาน เนื่องจากไมมีมาตรการกีดกันทางการคาดานภาษีการนําเขา และจากการที่อาชีพ

                  เกษตรกรรมยังคงเปนอาชีพที่สรางรายไดใหแกคนสวนใหญในประเทศ  ดังนั้นรัฐบาลจึงควร
                  มีนโยบายสนับสนุนการเตรียมความพรอมใหแกเกษตรกร เจาหนาที่ภาครัฐ และองคกรที่เกี่ยวของ

                  ทุกภาคสวนในการพัฒนาการผลิตสินคาเกษตรทั้งระบบ เพื่อใหสามารถแขงขันกับประเทศคูแขง

                  ทางการคาได โดยการเพิ่มศักยภาพสินคาเกษตรใหไดมาตรฐานสากล และการพัฒนาเพื่อสนับสนุน
                  ใหเกษตรกรมีความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น กระทรวงเกษตรและสหกรณซึ่งเปนหนวยงาน

                  ที่มีภารกิจสําคัญในการพัฒนาสินคาเกษตรใหไดมาตรฐานมีคุณภาพเปนที่ยอมรับในระดับสากล โดยมี

                  แผนพัฒนาภายใตยุทธศาสตรการปรับโครงสรางสินคาเกษตร ซึ่งเปนยุทธศาสตรที่มีเปาหมายที่จะ
                  พัฒนาการเกษตรทั้งระบบ เริ่มตั้งแตการผลิต การแปรรูป และการตลาดแบบครบวงจร สงเสริมการผลิต

                  พืชเศรษฐกิจใหเหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อสรางความมั่นคงดานรายไดใหแกเกษตรกร สําหรับ

                  ในกระบวนการผลิตดานการเกษตรนั้นปจจัยการผลิตพื้นฐานที่สําคัญเปนอันดับแรกๆ ไดแก

                  ทรัพยากรดิน ซึ่งในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานทรัพยากรดิน การฟนฟูปรับปรุงบํารุงดินใหมี
                  ความอุดมสมบูรณ และการอนุรักษดินและน้ําอยางเปนระบบตลอดจนการกําหนดเขตการใชที่ดิน

                  ตามศักยภาพของทรัพยากร เพื่อใหมีการใชที่ดินอยางเหมาะสมทั้งทางดานกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม

                  นั้นถือเปนหนาที่หลักของกรมพัฒนาที่ดินในการพัฒนาดานดังกลาว เพื่อการเพิ่มพูนผลผลิตในทิศทาง
                  การใชประโยชนอยางยั่งยืนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงอันจะสงผลใหเกษตรกรมีรายได และความ

                  เปนอยูที่ดีขึ้นจากการเพิ่มผลผลิตตอไรโดยไมเพิ่มตนทุนในการผลิต

                        ในปจจุบันกาแฟเปนพืชเครื่องดื่มชนิดหนึ่งที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ

                  ซึ่งสามารถทํารายไดจากการสงออกผลิตภัณฑกาแฟถึงปละประมาณ 2,500 ลานบาท และจากการที่
                  อุตสาหกรรมแปรรูปกาแฟในประเทศมีอัตราการเติบโตที่สูงขึ้น สงผลใหความตองการใชเมล็ดกาแฟดิบ

                  สําหรับกระบวนการผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการสงออกเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องเฉลี่ย

                  ระหวางรอยละ 7-10 ตอป แตปริมาณผลผลิตกาแฟในปการผลิต 2553 กลับลดลงเมื่อเทียบกับผลผลิต
                  ในปการผลิต 2552 ถึงรอยละ 13 โดยมีสาเหตุมาจากราคาพืชแขงขันชนิดอื่น เชน ยางพารา มีราคาที่







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                      สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18