Page 36 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้
P. 36
3-2
รายละเอียดในการประเมินความเหมาะสมของปริมาณน้ าฝน การจัดการที่ดิน และทรัพยากรดิน
มีรายละเอียด ดังตารางที่ 3-1
ตารางที่ 3-1 ระดับความต้องการปัจจัยต่อการเจริญเติบโตของโกโก้
ความต้องการในการเพาะปลูกโกโก้ ค่าพิสัย
คุณลักษณะที่ดินที่ใช้ เหมาะสมปาน เหมาะสม
คุณภาพที่ดิน หน่วย เหมาะสมมาก ไม่เหมาะสม
ประเมิน กลาง น้อย
ความชุ่มชื้น ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยรายปี มิลลิเมตร 1,500–2,500 1,800-1,999 3,501-4,500 น้อยกว่า 800
ที่เป็นประโยชน์ 1,000-1,499 800-999 มากกว่า
(m) 4,500
ความเป็น การระบายน้ า ชั้น ดี ดีค่อนข้างมาก ค่อนข้างเลวและ เลว เลวมาก
ประโยชน์ และดีเกินไป ดีปานกลาง
ของออกซิเจน
ต่อรากพืช (o)
ความจุในการดูด ความจุในการแลกเปลี่ยน cmol/kg มากกว่า 20 10-20
ยึดธาตุอาหาร (n) แคตไออน (ดินล่าง) น้อยกว่า 10
ความเป็น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ระดับ สูง ปานกลาง ต่ า
ประโยชน์ของธาตุ
อาหาร (s)
สภาวะการหยั่งลึก ความลึกของดิน เซนติเมตร มากกว่า 150 50-100 25-50 น้อยกว่า 25
ของราก ( r )
การมีเกลือ ค่าการน าไฟฟ้าของดิน mmho/cm. น้อยกว่า 2 2-4 4-8 มากกว่า 8
มากเกินไป (x)
สารพิษ (z) ระดับความลึก เซนติเมตร มากกว่า 150 100-150 50-100 น้อยกว่า 50
ของจาโรไซต์
ความเป็นกรด-ด่างของดิน - 5.6 – 6.5 6.5-7.5 7.5-8.5 มากกว่า 8.5
(pH) ดินบน 4.5 – 5.0 4.0-4.5 น้อยกว่า 4.0
ความเสียหาย ความลาดชัน เปอร์เซ็นต์ 0 – 12 12-20 20-35 มากกว่า 35
จากการกร่อนดิน
(e)
ที่มา: ดัดแปลงจาก กองวางแผนการใช้ที่ดิน (2528)
การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน โดยการจับคู่ระหว่างความต้องการของประเภทการใช้
ประโยชน์ที่ดินกับคุณภาพที่ดิน ซึ่งจะพิจารณาแต่ละคุณภาพที่ดินในหน่วยที่ดินนั้นๆ ที่มีข้อจ ากัดรุนแรง
ที่สุดที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืช จะใช้ระดับความเหมาะสมของคุณภาพที่ดิน
นั้นเป็นตัวแทนความเหมาะสมรวมของหน่วยที่ดิน
การจ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (land suitability classification) ตามหลักการของ
FAO Framework สามารถจ าแนกชั้นความเหมาะสมได้ดังนี้
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้ กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน