Page 38 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้
P. 38

3-4





                  หน่วยที่ดินที่ 31 เช่น ชุดดินล าสนธิที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2

                  เปอร์เซ็นต์ (Ls-siclA)  หน่วยที่ดินที่ 28B  เช่น ดินทับพริกที่เป็นดินลึกเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนเหนียว

                  ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ (Tpk-d-clB) ดินทับพริกที่เป็นดินลึกมาก (Tpk-vd-clB) และหน่วยที่ดินที่
                  26B เช่น ดินโอล าเจียกที่เป็นดินลึกที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์

                  (Oc-d-clB) เป็นต้น

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่รวม 92,757,605 ไร่ โดยภาคเหนือ มีเนื้อที่
                  17,437,832 ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 40,990,634 ไร่ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 11,286,092 ไร่

                  ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 7,752,957 ไร่ และภาคใต้ มีเนื้อที่ 15,328,090 ไร่ ดินที่มีความเหมาะสม
                  ปานกลางต่อการเพาะปลูก  สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนชัน (ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์)

                  การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง เป็นดินลึกปานกลาง (50-100 เซนติเมตร) เนื้อดินเป็นดินทราย

                  ดินทรายปนร่วน ดินเหนียว ดินเป็นกรดจัดมากและเป็นด่างอ่อน พบจาโรไซต์ที่ระดับความลึก 100-150
                  เซนติเมตร ความสามารถในการดูดยึดและปลดปล่อยธาตุอาหารในดินปานกลางถึงต่ า (ค่าความจุ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน) มีปริมาณเกลือในดินเล็กน้อย (ค่าการน าไฟฟ้าของดิน 2-4 เดซิซีเมนต่อเมตร)
                  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                          ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง หน่วยที่ดินที่พบมากที่สุดในพื้นที่ คือ หน่วยที่ดินที่

                  40B เช่น ชุดดินภูพานที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ (Pu-slB) ชุดดิน
                  พระทองที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ (Ptk-slB) ชุดดินปักธงชัย

                  มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5เปอร์เซ็นต์ (Ptc-slB) ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ า

                  ดีปานกลาง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5เปอร์เซ็นต์ (Ptc-mw-slB)  ชุดดิน
                  ห้วยแถลงที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ (Ht-slB) หน่วยที่ดินที่ 35B

                  เช่น ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
                  (Pu-fl-slB)  หน่วยที่ดินที่ 37fl,B  เช่น ชุดดินเขมราฐที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน

                  2-5 เปอร์เซ็นต์ (Kmr-slB) หน่วยที่ดินที่ 37fl เช่น ชุดดินพลที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย

                  ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ (Pho-slA)  หน่วยที่ดินที่ 41B เช่น ชุดดินมหาสารคามที่มีเนื้อดินบนเป็น
                  ดินทรายปนร่วน ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ (Msk-lsB) และหน่วยที่ดินที่ 44B เช่น ดินมหาสารคามที่

                  เป็นทรายหนามาก มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายปนร่วน ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ (Msk-vtks-lsB)
                  เป็นต้น

                          ข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง คือเสี่ยงต่อความ

                  เสียหายจากการกร่อนดิน (e)  เป็นดินลึกปานกลาง (r) ดินเป็นกรดจัดมากและเป็นด่างอ่อน และบาง
                  บริเวณพบจาโรไซต์ที่ระดับความลึก 100-150 เซนติเมตร (z)  บางบริเวณมีปริมาณเกลือในดินเล็กน้อย (x)






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจโกโก้                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43