Page 142 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 142

4-18





                        11.  ใหองคการตลาดเพื่อเกษตรกรเตรียมความพรอมเปนแหลงรองรับผลผลิตพืช GI จากเกษตรกร

                     
                  สูผูบริโภคโดยตรง พรอมทั้งขับเคลื่อนนโยบายการตลาดนำการผลิต โดยสำรวจความตองการของตลาด
                                                                                        
                  กำหนดปริมาณการรับซื้อและเปนแหลงจำหนายสินคาสรางรายไดใหแกเกษตรกรในทองถิ่น
                        12.  สงเสริมโครงการและนโยบายของรัฐที่เกี่ยวของในเชิงพื้นที่ เชน โครงการขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                  ผูปลูกพืช GI โครงการประกนรายไดเกษตรกรผูปลูกพืช GI เปนตน
                                        ั
                        13.  ควรใชฐานขอมูลเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรเปนฐานขอมูลเพื่อชวยในการกำหนด
                  มาตรการในการชวยเหลือเกษตรกรผูปลูกพืช GI โดยสามารถใชพื้นที่ตามเขตการใชที่ดินพืชบงชี  ้
                  ทางภูมิศาสตร เปนฐานขอมูลประกอบการตัดสินใจในการพัฒนาระบบโลจิสติกสและระบบสารสนเทศ

                                                                       
                  ภูมิศาสตร เพื่อใชในการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพตั้งแตการปลูก การเก็บเกี่ยว และการขนสง
                    ื
                    ่
                                
                                                                              
                                                                 ุ
                  เพอเปนการลดตนทุนโดยรวม และลดความเสียหายตอคณภาพของสินคา GI
                        14.  การประกันรายไดเกษตรกรที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตองดำเนินการเฉพาะเกษตรกร
                  ที่ทำการผลิตในเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ใหสิทธิพิเศษสำหรับเกษตรกรที่ปลูกพืช
                                    ี
                                                                         ้
                                ี
                                                                            ่
                                                                  ุ
                                                           
                  ตามเขตการใชท่ดินท่กำหนด เชน การสนับสนุนดานเงนทนดอกเบียตำและใชมาตรการดานภาษ   ี
                                                               ิ
                                                                                            
                        15.  สงเสริมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรเพื่อใหมีผลผลิตของพืช GI ตอพื้นท ี ่
                  สูงสุด และควบคุมคุณภาพผลผลิตใหไดมาตรฐานอยูเสมอ โดยภาครัฐ ภาคเอกชนรวมทั้งเกษตรกร
                                          
                  ตองมีการติดตามสถานการณ และรวมกันแกไขปญหา และตองมีการปรับตัวโดยเฉพาะกระบวนการผลิต
                                                          
                  ที่มีประสิทธิภาพ ไดผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ และไดรับมาตรฐานสากล
                        16.  สงเสริมวิสาหกิจชุมชนและกลุมเกษตรกรผูปลูกพืช GI โดยการสนับสนุนเงินทุน หรือ
                                                              
                                   ื
                      ู
                  เงินกดอกเบี้ยต่ำ เพ่อสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ และบรรจุภัณฑใหไดมาตรฐาน
                        17.  ใหความรูในเรื่องการจัดการดิน น้ำ และพืช อยางเหมาะสมและตอเนื่อง พรอมทั้งจัดหา
                  พื้นที่จัดทำแกมลิง เพื่อเพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำ และพื้นที่ระบายน้ำ
                        สำหรับขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังที่กลาวมาแลวนั้น สามารถนำมาปรับใชในทางปฏิบัติใหเกิดเปน
                  รูปธรรมได โดยกำหนดเปนมาตรการเสริมเชิงบังคับและหรือจูงใจ เพื่อสนับสนุนใหการใชพื้นที่ตามเขต
                                                                                          ี
                                                                ี
                                       ิ
                                 ้
                            ื
                                              ู
                                                 
                  การใชที่ดินพชบงชีทางภูมศาสตร ถกตองเหมาะสมอยางมประสิทธิภาพตามหลักวิชาการ มผลในทางปฏิบัต ิ
                  และสามารถดำเนินการไดบรรลุเปาหมายในอนาคต
                                      























                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147