Page 138 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 138

4-14






                        จากการกำหนดเขตการใชที่ดิน พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร 6 ชนิด ประกอบดวย สมโอนครชัยศรี
                                                             
                  พริกบางชาง ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไย
                                                                    ี่
                  พวงทองบานแพว ตองคำนวณผลผลิตตามศักยภาพของพื้นทในแตละเขต ตามหลักการที่กำหนด ดังนี้
                               
                        1. เขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกสมโอนครชัยศรี (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตมากกวา 3,000
                  กิโลกรัมตอไร ผลผลิตรวม 2,500 ตัน และเขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นที่เพาะปลูก (Z–E1) จะตองให
                                                                         ่
                                                                       ื
                                                                       ้
                                         ิ
                    
                                                    ี
                                               
                                                                         ี
                                                                                   
                  ไดผลผลิต มากกวา 3,000 กโลกรัมตอไร มเนื้อที่ที่สามารถขยายพนทเพาะปลูกได 2,900 ไร
                        2. เขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกพริกบางชาง (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตมากกวา 2,900 กิโลกรัม
                  ตอไร ผลผลิตรวม 180 ตัน และเขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นที่เพาะปลูก (Z–E1) มีเนื้อที่ที่สามารถ
                  ขยายพื้นที่เพาะปลูกได 733 ไร เขตเหมาะสมปานกลางสำหรับขยายพื้นที่เพาะปลูก (Z–E2) มีเนื้อท  ี ่
                  ทสามารถขยายพนทเพาะปลูกได 45 ไร
                   ่
                                ื้
                                  ี่
                   ี
                        3. เขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตมากกวา 500
                  กิโลกรัมตอไร ผลผลิตรวม 2,500 ตัน และเขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นที่เพาะปลูก (Z–E1) จะตอง
                  ใหไดผลผลิต มากกวา 500 กิโลกรัมตอไร มีเนื้อที่ที่สามารถขยายพื้นที่เพาะปลูกได 1,000 ไร
                        4. เขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกสมโอขาวใหญสมุทรสงคราม (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตมากกวา
                  1,500 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตรวม 21,000 ตัน และเขตเหมาะสมปานกลางสำหรับปลูกสมโอขาวใหญ  
                  สมุทรสงคราม (Z-II) จะตองใหไดผลผลิต 1,000-1,499 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตรวม 1,200 ตัน และ
                  เขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพนทเพาะปลูก (Z–E1) มีเนื้อที่ที่สามารถขยายพนทเพาะปลูกได 333 ไร
                                                                                   ี่
                                                                                ื้
                                              ี
                                           ื
                                           ้
                                              ่
                        5. เขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพว (Z-I) มีเนื้อที่ 53,559 ไร โดยจะตอง
                  ใหไดผลผลิตเพียงพอตอความตองการของโรงงานอุตสาหกรรม เขตเหมาะสมปานกลางสำหรับปลูก
                  มะพราวน้ำหอมบานแพว (Z-II) มีเนื้อที่ 6,681 ไร เขตเหมาะสมเล็กนอยสำหรับปลูกมะพราวน้ำหอม
                  บานแพว (Z-III) มีเนื้อที่ 416 ไร เขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นที่เพาะปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพว
                                                                                                      
                  (Z–E1) มีเนื้อที่ที่สามารถขยายพื้นที่เพาะปลูกได 4,537 ไร
                        6. เขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกลำไยพวงทองบานแพว (Z-I) มีเนื้อที่ 3,453 ไร เขตเหมาะสม
                  ปานกลางสำหรับปลูกลำไยพวงทองบานแพว (Z-II) มีเนื้อที่ 1,075 ไร เขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นท ่ ี

                                                                       ้
                  เพาะปลูกลำไยพวงทองบานแพว (Z–E1) มีเนื้อที่ที่สามารถขยายพนทเพาะปลูกได 4,064 ไร
                                                                       ื
                                                                                   
                                                                         ี
                                                                         ่
                                                                       
                  4.3  มาตรการดำเนินงานพัฒนาพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                        นโยบายของประเทศที่กำหนดใหประเทศไทยเปนครัวของโลกและสามารถผลิตอาหารสงออก
                  สูตลาดโลกไดอยางพอเพียงและสม่ำเสมอ เนื่องจากภัยแลง และศัตรูพืชระบาด สงผลใหผูมีสวน
                  เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชนจนถึงเกษตรกรผูผลิตตองตระหนักถึงความเสียหายและผลกระทบ
                  ที่เกิดขึ้น ดังนั้น เพื่อใหการผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และธุรกิจตอเนื่องมีความมั่นคง จึงควรมีมาตรการ
                  ดำเนินงานที่ชัดเจนและเหมาะสม ในการนี้หลายมาตรการไดดำเนินการอยางเปนรูปธรรมโดยหนวยงาน
                  ที่รับผิดชอบ ซึ่งมีทั้งมาตรการระยะสั้นจนถึงมาตรการระยะยาวดังนี้

                        4.3.1 มาตรการในการจัดการศัตรูพืชพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

                            มาตรการเรงดวน กลุมอารักขาพืช ของกรมสงเสริมการเกษตร มการควบคุมการใชสารเคม ี
                                                                                  ี
                                     ั
                                                                                                     
                                    ี
                                                                                              
                                                                                    
                                                                       ่
                                                                       ี
                  ที่มีการวิจัยแลววาไมมอนตรายตอผูบริโภค การใชสารกำจัดแมลงทไมเปนอันตรายตอมนุษย แตตองทำดวย
                                                                         
                                   
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143