Page 139 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 139

4-15





                  ความระมัดระวัง หรือกรณีการระบาดยังไมรุนแรง อาจใชการจัดการควบคุมศัตรูพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  ดวยชีววิธี
                                                                ื
                                                                                                      ื
                            มาตรการระยะกลาง โดยการสรางระบบเตอนภัยและจัดตั้งศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน เพ่อ
                                                                                           ั
                  ถายทอดเทคโนโลยีและความรูใหเกษตรกร และสรางความรวมมอในการจัดการควบคุมศตรูพืชบงชี้ทาง
                                                                       ื
                  ภูมิศาสตร รวมกับทางราชการ
                                                                                                      ุ
                            มาตรการระยะยาว สงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรูในการควบคม
                  ศัตรูพืชพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และสามารถถายทอดเปนเทคโนโลยีที่เหมาะสมแกเกษตรกร
                                                                        ่
                                                                                 ่
                                                                                 ี
                        4.3.2  มาตรการในการเพิ่มผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เนืองจากพื้นทปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                             ี
                  ของประเทศมแนวโนมลดลง ดังนั้นการทจะคงผลผลิตของพชบงชี้ทางภูมศาสตร ใหเพียงพอตอการบริโภค
                                                   ี่
                                                                  ื
                                                                                             
                                                                            ิ
                                            ิ
                                            ่
                                                                                         ึ
                                 ี่
                                   ี
                  และอุตสาหกรรมทมแนวโนมเพมขน จำเปนตองยกระดบผลผลิตตอหนวยพนทใหสูงขน
                                                                                         ้
                                                                                ้
                                                                                ื
                                                                ั
                                                                                   ่
                                               ้
                                               ึ
                                                                         
                                                                                   ี
                                           
                            1) ปรับปรุงพันธุพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เปนพันธุสงเสริมที่ใหผลผลิตสูงกวา สงเสริมและ
                  แนะนำใหเกษตรกรใชพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร พันธุดีหรือพันธุลูกผสมที่โตเร็ว ทนตอสภาพดินฟาอากาศ
                                           ี
                                           ่
                                                                                               ิ
                  และใหผลผลิตสูง มาตรการทดำเนินการโดยกรมวิชาการเกษตร คือการใชเทคโนโลยีการเพ่มผลผลิต
                   ี
                  ท่มีประสิทธิภาพ
                            2) สงเสริมประชาสัมพันธและสาธิตใหเกษตรกรบำรุงรักษาแปลงปลูก โดยการใสปุย
                  ปรับปรุงบำรุงดิน อาจมีการปลูกพืชคลุมดินเพื่อรักษาความชื้นในดินหรือปลูกพืชแซมในพื้นที่ที่สามารถ
                                                ่
                                                ิ
                                                       
                                                                             ู
                  จัดการเรืองน้ำได อันจะเปนการเพมรายไดจากพืชแซมและเปนการดแลสวนพืชบงชี้ทางภูมศาสตร
                                 
                          ่
                                                                                                 ิ
                  พรอมกน
                        ั
                            3)  ดำเนินการปรับปรุงบำรุงดินตามมาตรการของกรมพัฒนาที่ดิน โดยการใหขอมูล
                  จากโปรแกรมปุยรายแปลงเพื่อทราบสถานภาพความอุดมสมบูรณของที่ดิน เพื่อที่สามารถกำหนดแนวทาง
                  และปริมาณของวัสดุในการปรับปรุงบำรุงดิน เชน ปริมาณของปุยหรือเมล็ดพันธุพืชปุยสด ตลอดจนวิธีการ
                  ในการอนุรักษดินและน้ำ เพื่อที่จะจัดการใหที่ดินมีความอุดมสมบูรณและสามารถสงเสริมใหตนพืชบงชี ้
                                                   ิ
                  ทางภูมิศาสตร มีความแข็งแรงเจริญเตบโตดี ผลผลิตสูงอยางตอเนื่องและยั่งยืน โดยกรมพัฒนาท่ดิน
                                                                                                    ี
                  ไดดำเนินการถายทอดเทคโนโลยีการปรับปรุงบำรุงดนและการอนุรักษดินและน้ำ ดวยการอบรมและ
                                                               ิ
                  สาธิตใหแกเกษตรกรในแตละจังหวัดเปนประจำทุกป โดยสถานีพัฒนาที่ดินที่มีอยูทุกจังหวัด
                        4.3.3 มาตรการดานการตลาด ปจจัยสำคัญที่มีผลตอการตัดสินใจของเกษตรกรผูผลิตพืชบงชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร คือ ราคาผลตอบแทน จากสถิติที่ผานมาราคาจำหนายพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ของเกษตรกรใน
                  ตลาดมีความผันผวนคอนขางมาก ทั้งความแปรปรวนตามฤดูกาลในปการผลิต และความแปรปรวนของ
                                                                                           ิ
                  ราคาในแตละป ตามปริมาณผลผลิตที่ตอบสนองตอความตองการของตลาดพืชบงชี้ทางภูมศาสตร ดังนั้น
                  เพื่อความมีเสถียรภาพของตลาดพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของไทย จึงควรมีมาตรการสนับสนุนดาน
                  การตลาดและราคาผลผลิตดังนี้
                            1) สนับสนุนใหมีการรวมกลุมของเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เพื่อดำเนิน
                  กิจกรรมตั้งแตการจัดหาปจจัยในการผลิต จนถึงการจำหนายผลผลิต และสามารถสรางความรวมมือ
                                                                                                 
                                                                                                 ู
                                                                                         
                                          ั
                                             ื
                                       ั
                                                       ุ
                                                                          
                  ในการบริหารจัดการปองกนศตรูพช การควบคมคณภาพผลผลิต การถายทอดเทคโนโลยีตาง ๆ ในหมสมาชิก
                                                          ุ
                  เพื่อใหมอำนาจในการตอรองดานราคาและการรับการสนับสนุนจากหนวยงานองคการตาง ๆ ไดมากขึ้น
                        ี
                                    
                                                                                  
                                                                                      
                                          
                            2) ภาครัฐตองมีมาตรการดำเนินการจัดการควบคุมดูแลดานราคาของตลาดพืชบงชี้
                                                                       
                  ทางภูมศาสตร ใหมีเสถียรภาพ และไมใหเกดการผูกขาดจนกระทบตอเกษตรกรรายยอย โดยการสนับสนุนให
                                                
                                                    ิ
                        ิ
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144