Page 140 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 140

4-16





                  ความชวยเหลือดานการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารแกองคกรภาคเอกชนที่มีการจัดตั้งและรวมกลุม

                                            ี
                                                                                    ื
                  ใหสามารถดำเนินการไดอยางมประสิทธิภาพตามหลักการธรรมาภิบาล และเอ้อประโยชนแกทกฝาย
                                                                                                  ุ
                               ั
                  อยางเทาเทยมกน
                        
                           ี
                                                                   
                            3)  มีการสงเสริมดานการตลาดของผลิตภัณฑพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ใหเปนที่รูจัก ทั้งใน
                  ดานที่เปนอาหาร ผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑอื่น ๆ  โดยมีการจัดแสดงสาธิตทั้งตลาดภายใน
                  และตางประเทศ รวมถึงการสงเสริมและพัฒนาการสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาอาหารและผลิตภัณฑ 
                  อยางครบวงจร
                          4.3.4  มาตรการจูงใจเจาของที่ดินใหคงพื้นที่ในการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เนื่องจากพื้นที่

                                                                                             ื
                                                                                      ี
                                                         ้
                                                                                      ่
                                                                      ี
                                  ิ
                       ื
                                                       ี
                                                            ่
                                                                                             ้
                                                         ื
                  ปลูกพชบงชี้ทางภูมศาสตรของประเทศไทยมพนทีลดลง โดยมการเปลี่ยนการใชทดินจากพนท่ปลูกพืช
                                                                                                ี
                  บงชี้ทางภูมิศาสตร เปนชนิดอื่นที่ใหผลตอบแทนสูงกวา ประกอบกับราคาของผลผลิตพืชบงชี  ้
                  ทางภูมิศาสตรตกต่ำในชวงสถานการณการระบาดของ COVID-19 ทำใหพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  ลดนอยลง อาจจะสงผลใหขาดแคลนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรในอนาคต ดังนั้น ภาครัฐและองคการ
                     ี
                         
                  ทเกยวของควรมมาตรการกระตนและจูงใจ เชน
                                ี
                   ่
                   ี
                                             ุ
                     ่
                                             
                                                         
                                                                               
                                1) นโยบายสงเสริมและจายคาชดเชยใหเกษตรกร เปนคาตนพันธุในการปลูกพืชบงชี้
                                              ่
                                              ี
                        ิ
                  ทางภูมศาสตร ทดแทนในแปลงทมีการระบาดของแมลงศัตรูพช
                                                                     ื
                                2)  การปรับเปลี่ยนการปลูกพืชในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม มาปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                                                               
                  ซึ่งมีความเหมาะสมตามศักยภาพของดิน โดยรัฐบาลจะเขามาสนับสนุนปจจัยการผลิตบางรายการ
                                3) นโยบายเกษตรแปลงใหญของรัฐบาล มีการสนับสนุนปจจัยการผลิตใหกลุมเกษตรกร
                                                                                     
                                                          
                  โครงการระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                                4) สรางความมั่นคงและความมั่นใจใหแกเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  โดยใชมาตรการที่ดำเนินกับอื่น เชน การประกันรายไดเกษตรกร การใชระบบตลาดเพื่อรักษาเสถียรภาพ
                                                                                                      ื
                  ของผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และใชกลไกตลาดสินคาเกษตรลวงหนารวมถึงการแกไขปญหาศัตรูพช
                    ่
                  เพอชวยเหลือเกษตรกรอยางเรงดวน
                    ื
                                             
                  4.4  สรุปและขอเสนอแนะ
                        สรุป
                        การกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรนี้ เปนการพิจารณาจัดทำเขตการใชที่ดิน
                                                                                           ่
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตรเฉพาะในพื้นที่เกษตรกรรม ตามรายงานเขตความเหมาะสมของทีดินกับการปลูก
                  เทานั้น ไมรวมพื้นที่ในเขตสงวนของรัฐ เชน เขตปาสงวนแหงชาติ ซึ่งในหลายพื้นที่มีราษฎรบุกรุกพื้นท  ี ่
                           
                                ี่
                               
                  เพื่อใชประโยชนทดินเพอการปลูกพืช ดังนั้น แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย
                                     ื่
                  ในเอกสารวิชาการฉบับนีมีการวางแผนการใชท่ดิน ตามการกำหนดการใชที่ดิน แบงเปน 5 เขตหลัก
                                                          ี
                                       ้
                  ประกอบดวยเขตเหมาะสมที่ปลูกพืช GI 3 เขตหลัก คือ เขตเหมาะสมมากสำหรับการปลูกพืช GI และ
                  เขตเหมาะสมปานกลางสำหรับการปลูกพช GI และ เขตเหมาะสมเล็กนอยสำหรับการปลูกพช GI โดยแนะนำ
                                                                                          ื
                                                  ื
                  การขยายพื้นที่ปลูกพืชในเขตที่มีความเหมาะสมมาก และเหมาะสมปานกลาง โดยคัดเลือกพื้นที่ที่ปจจุบัน
                  มีการปลูกพืชผัก หรือพืชลมลุกที่ผลตอบแทนนอยกวาการปลูกพืช GI และสมบัติทางกายภาพของที่ดิน
                  เหมาะสมตอการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และอยูในเขตพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของ
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145