Page 141 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 141

4-17





                  กรมทรัพยสินทางปญญา อีก 2 เขต โดยแนะนำเปนทางเลือกใหเกษตรกรปลูกในเขตชลประทาน

                                    ี่
                                      ี
                                                                  ื่
                  หรือพื้นที่เกษตรกรรมทมแหลงน้ำธรรมชาติในการเขตกรรมเมอเกดฝนทิ้งชวง
                                                                     ิ
                        ขอเสนอแนะ
                         
                        1. สงเสริมใหเกษตรกรมีการขึ้นทะเบียนปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และใหความรูแกเกษตรกร
                                                         
                              
                  ในการใชพนธุพืช GI ทมีลักษณะตรงตามพันธุที่ประกาศขึ้นทะเบียน GI โดยกรมทรัพยสินทางปญญา
                                      ่
                           ั
                                      ี
                                                                           ื
                                                               ิ
                        2. สงเสริมใหเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมศาสตร ปลูกพชในระบบเกษตรปลอดภัย และ
                                                       ี
                    
                  ไดรับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรท่ดี (Good Agricultural Practice; GAP)
                        3.  สงเสริมใหเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มีการรวมกลุมในการจัดการดานอุปสงค
                  อุปทาน พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เพื่อผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรใหไดตามความตองการของตลาด
                                                      
                  โดยไมใหเกิดการขาดแคลน และนำความรูทางดานเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกตใชทั้งดานการผลิต
                  และการตลาดระบบออนไลน
                        4.  สงเสริมและสนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพิ่มใหแกเกษตรกรผูปลูก
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และผูประกอบการ
                                                     
                                                                 ิ
                        5.  สรางภาพลักษณใหแกผลิตภัณฑพืชบงชี้ทางภูมศาสตรของประเทศไทย โดยมีการแนะนำและ
                  ประชาสัมพันธสินคาที่ผลิตจากพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ประชาสัมพันธใหเกษตรกรในพื้นที่ทางภูมิศาสตร
                  ของพืชนั้น ๆ ยื่นขอตราสัญลักษณ GI เปนเครื่องหมายรับรองท่เปนของทางราชการและเครื่องหมาย
                                                                        ี
                  การคาของผูสงออกที่ไดรับมาตรฐานจากทางราชการอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภค
                                                                    
                           
                   ้
                  ทังในและตางประเทศ
                        6.  ควรมียุทธศาสตรพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของประเทศ โดยความรวมมือของหนวยงานราชการ
                  หนวยงานทองถิ่น ภาคเอกชน แปรรูป และเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร โดยรัฐควรสงเสริม
                                                                                     
                              ี
                                                                                   ่
                                                                            ิ
                                      ั
                                                                                   ี
                            ื
                            ้
                     ี
                              ่
                  ใหมการใชพนทตรงตามศกยภาพ สงเสริมการปลูกพืช GI ในระบบเกษตรอนทรียทไดรับรองมาตรฐานตาง ๆ
                                                                                                      ื
                                                                                                      ้
                  ไดแก PGS หรือมาตรฐานอื่น ๆ และควรมีการทำ MOU กับผูประกอบการ หรือหนวยงานที่รับซอ
                  ผลผลิต เพื่อเพิ่มราคาผลผลิตใหผูผลิตทีไดรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย เปนการสงเสริมใหเกษตรกร
                                                   ่
                  ตระหนักถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหมากยิ่งขึ้น
                        7.  ควรมีการสรางโรงงานแปรรูปขนาดเล็กเพื่อแปรรูปผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรโดยเฉพาะ
                                  ี
                  ครอบคลุมพื้นที่ที่มการเพาะปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร โดยรักษาสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทาน
                                 ิ
                                        
                  หากผลผลิตมากเกนความตองการของโรงงานแปรรูป ควรมนโยบายรองรับ เพื่อปองกันราคาผลผลิตตกต่ำ
                                                                 ี
                        8.  สงเสริมและสนับสนุนใหเกษตรกรมีสวนรวมในการวางแผนการผลิตอยางเปนระบบ เนนการผลิต
                      
                                                                                                      
                  สินคาคุณภาพ ตอบสนองความตองการของตลาดเพื่อแกปญหาสินคาเกษตรลนตลาดและราคาสินคา
                  เกษตรตกต่ำ
                                                                                                   
                                                                                                      ิ่
                                                                                                ู
                                                                            ้
                                                                                 ิ
                                     
                                                      ั
                                                    ่
                                                    ี
                                                         ั
                                                                       ื
                        9.  สงเสริมการถายทอดเทคโนโลยีททนสมยในการแปรรูปพชบงชีทางภูมศาสตร เพื่อสรางมลคาเพม
                  และเพิ่มความหลายหลายของสินคาในเชิงพาณิชย
                        10.  สนับสนุนใหมีการใชปุยพืชสด ปุยหมัก เพื่อเปนการสงเสริมการลดตนทุนการผลิตใหเกษตรกร
                                               ิ
                  เชน สงเสริมการจัดตั้งกลุมผลิตปุยอนทรีย สงเสริมการทำปุยผสมเอง รวมทั้งสงเสริมปลูกพชทเหมาะสม
                                                                                            ื
                                                                                               ี่
                  ในพื้นที่ Zoning เพื่อใหไดปริมาณผลผลิตสูง และลดปริมาณการใชปุย ทำใหรายไดเกษตรกรสูงขึ้น
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146