Page 153 - Plan GI
P. 153

4-17





                        ขอเสนอแนะ

                        1. สงเสริมใหเกษตรกรมีการขึ้นทะเบียนปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และใหความรูแกเกษตรกร
                  ในการใชพันธุพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรที่มีลักษณะตรงตามพันธุที่ประกาศขึ้นทะเบียน GI โดย
                  กรมทรัพยสินทางปญญา

                        2. สงเสริมใหเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ปลูกพืชในระบบเกษตรปลอดภัย และ
                  ไดรับมาตรฐาน GAP (Good Agricultural Practice)
                        3.  สงเสริมใหเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มีการรวมกลุมในการจัดการดานอุปสงค
                  อุปทาน พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เพื่อผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรใหไดตามความตองการของตลาด

                  โดยไมใหเกิดการขาดแคลน และนำความรูทางดานเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกตใชทั้งดานการผลิต
                  และการตลาดระบบออนไลน
                        4.  สงเสริมและสนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพิ่มใหแกเกษตรกรผูปลูก
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และผูประกอบการ

                        5.  สรางภาพลักษณใหแกผลิตภัณฑพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของประเทศไทย โดยมีการแนะนำและ
                  ประชาสัมพันธสินคาที่ผลิตจากพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ประชาสัมพันธใหเกษตรกรในพื้นที่ทางภูมิศาสตร
                  ของพืชนั้น ๆ ยื่นขอตราสัญลักษณ GI เปนเครื่องหมายรับรองที่เปนของทางราชการและเครื่องหมาย
                  การคาของผูสงออกที่ไดรับมาตรฐานจากทางราชการอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภค

                  ทั้งในและตางประเทศ
                        6. ควรมียุทธศาสตรพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของประเทศ โดยความรวมมือของหนวยงาน
                  ราชการ หนวยงานทองถิ่น ภาคเอกชน แปรรูป และเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร โดยรัฐควร
                  สงเสริมใหมีการใชพื้นที่ตรงตามศักยภาพ สงเสริมการปลูกพืช GI ในระบบเกษตรอินทรียที่ไดรับรอง

                  มาตรฐานตาง ๆ ไดแก PGS หรือมาตรฐานอื่น ๆ และควรมีการทำ MOU กับผูประกอบการ หรือ
                  หนวยงานที่รับซื้อผลผลิต เพื่อเพิ่มราคาผลผลิตใหผูผลิตที่ไดรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย เปนการ
                  สงเสริมใหเกษตรกรตระหนักถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหมากยิ่งขึ้น
                        7. ควรมีการสรางโรงงานแปรรูปขนาดเล็กเพื่อแปรรูปผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรโดยเฉพาะ

                  ครอบคลุมพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร โดยรักษาสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทาน
                  หากผลผลิตมากเกินความตองการของโรงงานแปรรูป ควรมีนโยบายรองรับ เพื่อปองกันราคาผลผลิต
                  ตกต่ำ

                        8. สงเสริมและสนับสนุนใหเกษตรกรมีสวนรวมในการวางแผนการผลิตอยางเปนระบบ เนนการผลิต
                  สินคาคุณภาพ ตอบสนองความตองการของตลาดเพื่อแกปญหาสินคาเกษตรลนตลาดและราคาสินคา
                  เกษตรตกต่ำ
                        9. สงเสริมการถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการแปรรูปพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม
                  และเพิ่มความหลายหลายของสินคาในเชิงพาณิชย

                        10. สนับสนุนใหมีการใชปุยพืชสด ปุยหมัก เพื่อเปนการสงเสริมการลดตนทุนการผลิตใหเกษตรกร
                  เชน สงเสริมการจัดตั้งกลุมผลิตปุยอินทรีย สงเสริมการทำปุยผสมเอง รวมทั้งสงเสริมปลูกพืชที่เหมาะสม
                  ในพื้นที่ Zoning เพื่อใหไดปริมาณผลผลิตสูง และลดปริมาณการใชปุย ทำใหรายไดเกษตรกรสูงขึ้น








                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158