Page 149 - Plan GI
P. 149

4-13






                        จากการกำหนดเขตการใชที่ดิน พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร 6 ชนิด คือ ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ
                  กระเทียมศรีสะเกษ หอมแดงศรีสะเกษ ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ สับปะรดทาอุเทน ลิ้นจี่นครพนม
                  ในพื้นที่จังหวัดนครพนม และขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย ในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย สามารถคำนวณ
                  ผลผลิตตามศักยภาพของพื้นที่ในแตละเขต ไดดังนี้

                        1. เขตเหมาะสมมากในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ
                  1,200 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-II) จะตองให
                  ไดผลผลิตตอไรเทากับ 1,100 กิโลกรัมตอไร เขตเหมาะสมมากในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-I)
                  และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-II) จะตองใหไดผลผลิตรวมของทุเรียน

                  ภูเขาไฟศรีสะเกษประมาณ 8,500 ตันตอป โดยเพิ่มขึ้นจากปจจุบัน ซึ่งมีผลผลิตรวม 4,213 ตัน ตอป
                        2. เขตเหมาะสมมากในการปลูกกระเทียมศรีสะเกษ (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ
                  900 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกกระเทียมศรีสะเกษ (Z-II) จะตองใหไดผล
                  ผลิตตอไรเทากับ 850 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 600 ตัน

                        3. เขตเหมาะสมมากในการปลูกหอมแดงศรีสะเกษ (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ
                  3,600 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกหอมแดงศรีสะเกษ (Z-II) จะตองใหได
                  ผลผลิตตอไรเทากับ 3,500 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 89,000 ตัน
                        4. เขตเหมาะสมมากในการปลูกสับปะรดทาอุเทน (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ

                  9,000 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกสับปะรดทาอุเทน (Z-II) จะตองใหได
                  ผลผลิตตอไรเทากับ 6,000 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 37,600 ตัน
                        5. เขตเหมาะสมมากในการปลูกลิ้นจี่นครพนม (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ
                  600 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกลิ้นจี่นครพนม (Z-II) จะตองใหได

                  ผลผลิตตอไรเทากับ 550 กิโลกรัมตอไร จะไดผลผลิตรวม 210 ตัน จึงตองสงเสริมใหเกษตรกรไป
                  ขึ้นทะเบียน GI เพิ่มขึ้น เนื่องจากพบวามีพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดของตำบลขามเฒา ในป 2563 จำนวน
                  1,225 ไร จึงตองสงเสริมการขึ้นทะเบียน และขอตราสัญลักษณ GI เพื่อใหผลผลิตรวมเพิ่มเปน 900 ตัน
                  ดังที่ปรากฏในฐานขอมูลของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563)

                        6. เขตเหมาะสมมากในการปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไร
                  เทากับ 500 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย (Z-II)
                  จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ 400 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวมประมาณ 45,000 ตัน


                  4.3  มาตรการดำเนินงานพัฒนาพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                        นโยบายของประเทศที่กำหนดใหประเทศไทยเปนครัวของโลกและสามารถผลิตอาหารสงออก
                  สูตลาดโลกไดอยางพอเพียงและสม่ำเสมอ เนื่องจากภัยแลง และศัตรูพืชระบาด สงผลใหผูมีสวน
                  เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชนจนถึงเกษตรกรผูผลิตตองตระหนักถึงความเสียหายและผลกระทบ
                  ที่เกิดขึ้น ดังนั้น เพื่อใหการผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และธุรกิจตอเนื่องมีความมั่นคง จึงควร

                  มีมาตรการดำเนินงานที่ชัดเจนและเหมาะสม ในการนี้หลายมาตรการไดดำเนินการอยางเปนรูปธรรม
                  โดยหนวยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งมีทั้งมาตรการระยะสั้นจนถึงมาตรการระยะยาวดังนี้







                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154