Page 152 - Plan GI
P. 152

4-16





                  สำหรับการปลูกพืช และเขตเหมาะสมปานกลางสำหรับการปลูกพืช โดยแนะนำการขยายพื้นที่ปลูกพืชในเขต

                  ที่มีความเหมาะสมมาก และเหมาะสมปานกลาง ในพื้นที่ไมเหมาะสมตอการทำนาหรือพืชอื่น แตเหมาะสม
                  ตอการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และอยูในเขตพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสิน
                  ทางปญญา อีก 2 เขต โดยแนะนำเปนทางเลือกใหเกษตรกรปลูกในเขตชลประทานหรือพื้นที่เกษตรกรรม

                  ที่มีแหลงน้ำธรรมชาติในการเขตกรรมเสริมเมื่อเกิดฝนทิ้งชวง จากการกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตรดังกลาว มีรายละเอียดที่สามารถสรุปได ดังนี้
                        1) เขตเหมาะสมมากในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ
                  1,200 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-II) จะตองให

                  ไดผลผลิตตอไรเทากับ 1,100 กิโลกรัมตอไร เขตเหมาะสมมากในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-I)
                  และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Z-II) จะตองใหไดผลผลิตรวมของทุเรียน

                  ภูเขาไฟศรีสะเกษประมาณ 8,500 ตันตอป โดยเพิ่มขึ้นจากปจจุบัน ซึ่งมีผลผลิตรวม 4,213 ตัน ตอป
                        2) เขตเหมาะสมมากในการปลูกกระเทียมศรีสะเกษ (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ

                  900 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกกระเทียมศรีสะเกษ (Z-II) จะตองใหไดผล
                  ผลิตตอไรเทากับ 850 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 600 ตัน
                        3) เขตเหมาะสมมากในการปลูกหอมแดงศรีสะเกษ (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ
                  3,600 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกหอมแดงศรีสะเกษ (Z-II) จะตองใหได

                  ผลผลิตตอไรเทากับ 3,500 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 89,000 ตัน
                        4) เขตเหมาะสมมากในการปลูกสับปะรดทาอุเทน (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ
                  9,000 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกสับปะรดทาอุเทน (Z-II) จะตองใหได
                  ผลผลิตตอไรเทากับ 6,000 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 37,600 ตัน

                        5) เขตเหมาะสมมากในการปลูกลิ้นจี่นครพนม (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ 600
                  กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกลิ้นจี่นครพนม (Z-II) จะตองใหได
                  ผลผลิตตอไรเทากับ 550 กิโลกรัมตอไร จะไดผลผลิตรวม 210 ตัน จึงตองสงเสริมใหเกษตรกรไป
                  ขึ้นทะเบียน GI เพิ่มขึ้น เนื่องจากพบวามีพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดของตำบลขามเฒา ในป 2563 จำนวน

                  1,225 ไร จึงตองสงเสริมการขึ้นทะเบียน และขอตราสัญลักษณ GI เพื่อใหผลผลิตรวมเพิ่มเปน 900 ตัน
                  ดังที่ปรากฏในฐานขอมูลของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563)
                        6) เขตเหมาะสมมากในการปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย (Z-I) จะตองใหไดผลผลิตตอไร

                  เทากับ 500 กิโลกรัมตอไร และเขตเหมาะสมปานกลางในการปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                  (Z-II) จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ 400 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวมประมาณ .45,000 ตัน
                        7) เขตปรับเปลี่ยนการใชที่ดิน รัฐควรสงเสริมใหมีการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรที่เปนพืชลมลุก
                  ไดแก หอมแดงศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ หลังนาในพื้นที่เกษตรกรรม โดยเลือกใชพื้นที่ที่ไมเหมาะสม
                  ตอการทำนา แตเหมาะสมสูงตอการปลูกพืชดังกลาว เพื่อใชประโยชนใหถูกตองตรงตามศักยภาพที่สุด

                  สวนเขตขยายการปลูกพืช GI แบบถาวร ก็เลือกใชพื้นที่ที่ไมเหมาะสมตอการทำนา แตเหมาะสมสูงตอ
                  การปลูกพืช GI ไดแก ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ สับปะรดทาอุเทน ลิ้นจี่นครพนม










                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157