Page 151 - Plan GI
P. 151

4-15





                  ในการบริหารจัดการปองกันศัตรูพืช การควบคุมคุณภาพผลผลิต การถายทอดเทคโนโลยีตาง ๆ ในหมูสมาชิก

                  อันจะใหมีอำนาจในการตอรองดานราคาและการรับการสนับสนุนจากหนวยงานองคการตาง ๆ ไดมากขึ้น
                            2) ภาครัฐตองมีมาตรการดำเนินการจัดการควบคุมดูแลดานราคาของตลาดพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร ใหมีเสถียรภาพ และไมใหเกิดการผูกขาดจนกระทบตอเกษตรกรรายยอย โดยการสนับสนุน
                  ใหความชวยเหลือดานการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารแกองคกรภาคเอกชนที่มีการจัดตั้งและรวมกลุม

                  ใหสามารถดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพตามหลักการธรรมาภิบาล และเอื้อประโยชนแกทุกฝาย
                  อยางเทาเทียมกัน
                            3)  มีการสงเสริมดานการตลาดของผลิตภัณฑพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ใหเปนที่รูจัก ทั้งใน
                  ดานที่เปนอาหาร ผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑอื่น ๆ  โดยมีการจัดแสดงสาธิตทั้งตลาดภายใน

                  และตางประเทศ รวมถึงการสงเสริมและพัฒนาการสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาอาหารและผลิตภัณฑ
                  อยางครบวงจร
                          4.3.4 มาตรการจูงใจเจาของที่ดินใหคงพื้นที่ในการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เนื่องจาก

                  พื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ของประเทศลดลง โดยมีการเปลี่ยนการใชที่ดินจากพื้นที่ปลูกพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร เปนชนิดอื่นที่ใหผลตอบแทนสูงกวา ประกอบกับราคาของผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  ตกต่ำในชวงสถานการณการระบาดของ COVID-19 ทำใหพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรลดนอยลง
                  อาจจะสงผลใหขาดแคลนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรในอนาคต ดังนั้น ภาครัฐและองคการที่เกี่ยวของ
                  ควรมีมาตรการกระตุนและจูงใจ เชน

                                1) นโยบายสงเสริมและจายคาชดเชยใหเกษตรกร เปนคาตนพันธุในการปลูกพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร ทดแทนในแปลงที่มีการระบาดของแมลงศัตรูพืช
                                2)  การปรับเปลี่ยนการปลูกพืชในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม มาปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  ซึ่งมีความเหมาะสมตามศักยภาพของดิน โดยรัฐบาลจะเขามาสนับสนุนปจจัยการผลิตบางรายการ
                                3) นโยบายเกษตรแปลงใหญของรัฐบาล มีการสนับสนุนปจจัยการผลิตใหกลุม
                  เกษตรกรโครงการระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                                4) สรางความมั่นคงและความมั่นใจใหแกเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  โดยใชมาตรการที่ดำเนินกับอื่น เชน การประกันรายไดเกษตรกร การใชระบบตลาดเพื่อรักษาเสถียรภาพ
                  ของผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และใชกลไกตลาดสินคาเกษตรลวงหนารวมถึงการแกไข
                  ปญหาศัตรูพืชเพื่อชวยเหลือเกษตรกรอยางเรงดวน

                  4.4  สรุปและขอเสนอแนะ

                        สรุป

                        การกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรนี้ เปนการพิจารณาจัดทำเขตการใชที่ดิน
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตรเฉพาะในพื้นที่เกษตรกรรม ตามรายงานเขตความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูก
                  เทานั้น ไมรวมพื้นที่ในเขตสงวนของรัฐ เชน เขตปาสงวนแหงชาติ ซึ่งในหลายพื้นที่มีราษฎรบุกรุกพื้นที่เพื่อใช
                  ประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร  ดังนั้น การกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  (GI) ของประเทศไทย ในรายงานฉบับนี้มีการกำหนดการใชที่ดิน แบงเปน 4 เขตหลัก ประกอบดวย
                  เขตเหมาะสมที่ปลูกพืช GI 2 เขตหลัก โดยจะแนะนำการปลูกพืชเพียง 2 เขต คือ เขตเหมาะสมมาก






                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156