Page 150 - Plan GI
P. 150

4-14





                        4.3.1 มาตรการในการจัดการศัตรูพืชพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

                            มาตรการเรงดวน กลุมอารักขาพืช ของกรมสงเสริมการเกษตร มีการควบคุมการใชสารเคมี
                  ที่มีการวิจัยแลววาไมมีอันตรายตอผูบริโภค การใชสารกำจัดแมลงที่ไมเปนอันตรายตอมนุษย แตตองทำดวย
                  ความระมัดระวัง หรือกรณีการระบาดยังไมรุนแรง อาจใชการจัดการควบคุมศัตรูพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  ดวยชีววิธี
                            มาตรการระยะกลาง โดยการสรางระบบเตือนภัยและจัดตั้งศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน

                  เพื่อถายทอดเทคโนโลยีและความรูใหเกษตรกร และสรางความรวมมือในการจัดการควบคุมศัตรูพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร รวมกับทางราชการ
                            มาตรการระยะยาว สงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรูในการควบคุม
                  ศัตรูพืชพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และสามารถถายทอดเปนเทคโนโลยีที่เหมาะสมแกเกษตรกร
                        4.3.2  มาตรการในการเพิ่มผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร  เนื่องจากพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  ของประเทศมีแนวโนมลดลง ดังนั้นการที่จะคงผลผลิตของพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ใหเพียงพอตอการบริโภค
                  และอุตสาหกรรมที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น จำเปนตองยกระดับผลผลิตตอหนวยพื้นที่ใหสูงขึ้น
                            1) ปรับปรุงพันธุพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เปนพันธุสงเสริมที่ใหผลผลิตสูงกวา สงเสริมและ
                  แนะนำใหเกษตรกรใชพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร พันธุดีหรือพันธุลูกผสมที่โตเร็ว ทนตอสภาพดินฟาอากาศ
                  และใหผลผลิตสูง มาตรการที่ดำเนินการโดยกรมวิชาการเกษตร คือการใชเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต

                  ที่มีประสิทธิภาพ
                            2) สงเสริมประชาสัมพันธและสาธิตใหเกษตรกรบำรุงรักษาแปลงปลูก โดยการใสปุย
                  ปรับปรุงบำรุงดิน อาจมีการปลูกพืชคลุมดินเพื่อรักษาความชื้นในดินหรือปลูกพืชแซมในพื้นที่ที่สามารถ
                  จัดการเรื่องน้ำได อันจะเปนการเพิ่มรายไดจากพืชแซมและเปนการดูแลสวนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  พรอมกัน
                            3)  ดำเนินการปรับปรุงบำรุงดินตามมาตรการของกรมพัฒนาที่ดิน โดยการใหขอมูล

                  จากโปรแกรมปุยรายแปลงเพื่อทราบสถานภาพความอุดมสมบูรณของที่ดิน เพื่อที่สามารถกำหนดแนวทาง
                  และปริมาณของวัสดุในการปรับปรุงบำรุงดิน เชน ปริมาณของปุยหรือเมล็ดพันธุพืชปุยสด ตลอดจนวิธีการ
                  ในการอนุรักษดินและน้ำ เพื่อที่จะจัดการใหที่ดินมีความอุดมสมบูรณและสามารถสงเสริมใหตนพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร มีความแข็งแรงเจริญเติบโตดี ผลผลิตสูงอยางตอเนื่องและยั่งยืน โดยกรมพัฒนาที่ดิน

                  ไดดำเนินการถายทอดเทคโนโลยีการปรับปรุงบำรุงดินและการอนุรักษดินและน้ำ ดวยการอบรมและ
                  สาธิตใหแกเกษตรกรในแตละจังหวัดเปนประจำทุกป โดยสถานีพัฒนาที่ดินที่มีอยูทุกจังหวัด
                        4.3.3 มาตรการดานการตลาด ปจจัยสำคัญที่มีผลตอการตัดสินใจของเกษตรกรผูผลิตพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร คือ ราคาผลตอบแทน จากสถิติที่ผานมาราคาจำหนายพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ของเกษตรกร
                  ในตลาดมีความผันผวนคอนขางมาก ทั้งความแปรปรวนตามฤดูกาลในปการผลิต และความแปรปรวน
                  ของราคาในแตละป ตามปริมาณผลผลิตที่ตอบสนองตอความตองการของตลาดพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  ดังนั้น เพื่อความมีเสถียรภาพของตลาดพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ของไทย จึงควรมีมาตรการสนับสนุน
                  ดานการตลาดและราคาผลผลิตดังนี้
                            1) สนับสนุนใหมีการรวมกลุมของเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เพื่อดำเนิน
                  กิจกรรมตั้งแตการจัดหาปจจัยในการผลิต จนถึงการจำหนายผลผลิต และสามารถสรางความรวมมือ








                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155