Page 251 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 251

2-223






                  ตารางที่ 2.6-40 (ต่อ)


                                                                                        เนื้อที่
                                      ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่         ร้อยละ
                      7. กลุ่มพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                  8,508       33.26

                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                     SC               8,508       33.26


                            3) ส้มโอทับทิมสยามปากพนัง จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย

                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกส้มโอทั้งหมดอยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่ 3,266
                  ไร่ หรือร้อยละ 100 ของพื้นที่ปลูกส้มโอทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่

                  อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินปากพนัง (Ppn) และชุดดินสมุทรปราการ(Sm)
                  โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกส้มโอ ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-41 และรูปที่ 2.6-41)


                  ตารางที่ 2.6-41 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกส้มโอที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                ส้มโอทับทิมสยามปากพนัง ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                    เนื้อที่
                                  ชุดดิน                  สัญลักษณ์

                                                                               ไร่           ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินเหนียว                                            3,266         100.00

                          ชุดดินปากพนัง                      Ppn                   2,935          89.86

                          ชุดดินสมุทรปราการ                  Sm                      331          10.14



                            4) ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่นาข้าวส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่

                  123,778 ไร่ หรือร้อยละ 62.82 ของพื้นที่นาข้าวทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                  ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ชุดดินพัทลุง (Ptl) ชุดดินบางนารา (Ba) ชุดดินละงู
                  (Lgu) ชุดดินท่าศาลา (Tsl) ชุดดินล าภูรา (Ll) และชุดดินระโนด (Ran) เป็นต้น รองลงมาคือพื้นที่นาข้าว
                  ในกลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินทรายแป้ง กลุ่มดินเปรี้ยวจัด กลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินร่วนริมแม่น้ า

                  กลุ่มดินตื้น กลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินทราย กลุ่มดินอินทรีย์ พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน
                  และกลุ่มดินเลนชายทะเล มีเนื้อที่ 43,082 22,739 2,943 2,484 1,085 333 244 112 59 58 46
   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256