Page 254 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 254

2-226






                  ตารางที่ 2.6-42 (ต่อ)


                                                                                        เนื้อที่
                                      ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่         ร้อยละ

                          ชุดดินพัทลุง                              Ptl               49,097        24.90
                          ชุดดินระโนด                               Ran                2,695          1.37

                          ชุดดินละงู                                Lgu               22,651        11.50
                          ชุดดินล าภูรา                             Ll                 3,938          2.00

                          ชุดดินสุไหงโกลก                           Gk                    453          0.23
                      11. กลุ่มดินอินทรีย์                                                 59         0.03
                          ชุดดินกาบแดง                              Kd                     59          0.03

                      12. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                            46         0.02
                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                     SC                     46          0.02

                      13. พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ                                               58         0.03
                         พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ                       MARSH                    58          0.03


                            5) สับปะรดภูเก็ต จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน
                  1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผน
                  การใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของ

                  กรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่ 228 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 42.86 ของพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่
                  ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินพังงา (Pga) ชุดดินโคกกลอย (Koi) ชุดดินภูเก็ต
                  (Pk) ชุดดินท้ายเหมือง (Tim) และชุดดินปากจั่น (Pac) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกสับปะรดในกลุ่มดินร่วน

                  ละเอียด พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน กลุ่มดินเลนชายทะเล และกลุ่มดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 169 78 44 และ
                  13 ไร่ หรือร้อยละ 31.80 14.75 8.19 และ 2.40 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูก
                  สับปะรด ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-43 และรูปที่ 2.6-43)
   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259