Page 249 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 249

2-221






                            2) เงาะโรงเรียนนาสาร จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตรา

                  ส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ
                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกเงาะส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 8,508

                  ไร่ หรือร้อยละ 33.26 ของพื้นที่ปลูกเงาะทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่
                  อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา รองลงมาคือพื้นที่ปลูกเงาะในกลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดิน
                  ร่วนหยาบ กลุ่มดินตื้น กลุ่มดินร่วนริมแม่น้ า กลุ่มดินเหนียว และกลุ่มดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 7,150
                  5,489 1,539 1,020 994 และ 909 ไร่ หรือร้อยละ 27.91 21.42 6.00 3.98 3.88 และ 3.55 ตามล าดับ
                  โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกเงาะ ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-40 และรูปที่ 2.6-40)


                  ตารางที่ 2.6-40  ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกเงาะที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                                  เงาะโรงเรียนนาสาร ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                        เนื้อที่
                                      ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่         ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินตื้น                                                1,539        6.00

                          ชุดดินเขาขาด                              Kkt                 65        0.25

                          ชุดดินคลองซาก                             Kc               1,003        3.91

                          ชุดดินคลองเต็ง                            Klt                 94        0.37

                          ชุดดินชุมพร                               Cp                 341        1.33

                          ชุดดินห้วยยอด                             Ho                  36        0.14

                      2. กลุ่มดินร่วนริมแม่น้้า                                      1,020        3.98

                          ชุดดินรือเสาะ                             Ro                 695        2.71

                          ชุดดินล าแก่น                            Lam                 325        1.27

                      3. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                         7,150       27.91

                          ชุดดินคลองท่อม                            Km                 303        1.18

                          ชุดดินคลองนกกระทุง                        Knk              3,293       12.86

                          ชุดดินควนกาหลง                            Kkl                202        0.79

                          ชุดดินโคกเคียน                            Ko               1,769        6.91
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254