Page 256 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 256

2-228






                            6) ทุเรียนสาลิกาพังงา จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตรา

                  ส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ
                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกทุเรียนส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 47 ไร่

                  หรือร้อยละ 95.20 ของพื้นที่ปลูกทุเรียนทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่
                  อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา รองลงมาคือพื้นที่ปลูกทุเรียนในกลุ่มดินร่วนริมแม่น้ า มีเนื้อ
                  ที่ 2 ไร่ หรือร้อยละ 4.80 โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกทุเรียน ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-44 และ
                  รูปที่ 2.6-44)


                  ตารางที่ 2.6-44 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกทุเรียนที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                ทุเรียนสาลิกาพังงา ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                    เนื้อที่
                                  ชุดดิน                   สัญลักษณ์
                                                                               ไร่           ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินร่วนริมแม่น้้า                                        2           4.80

                          ชุดดินตาขุน                        Tkn                       2            4.80

                      2. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                       47           95.20

                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน               SC                      47          95.20


                            7) ข้าวไร่ดอกข่าพังงา จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตรา
                  ส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ

                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกข้าวไร่ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินร่วนละเอียด มีเนื้อที่ 33 ไร่
                  หรือร้อยละ 32.79 ของพื้นที่ปลูกข้าวไร่ทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่
                  ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินสงขลา (Sng) และชุดดินไชยา (Cya) รองลงมาคือ

                  พื้นที่ปลูกข้าวไร่ในกลุ่มดินเลนชายทะเล กลุ่มดินร่วนริมแม่น้ า กลุ่มดินทราย และกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่
                  26 21 17 และ 5 ไร่ หรือร้อยละ 25.36 20.31 16.64 และ 4.90 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่
                  พบในพื้นที่ปลูกข้าวไร่ ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-45 และรูปที่ 2.6-45)
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261