Page 233 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 233

2-205






                            4) ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกทุเรียนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่

                  2,688 ไร่ หรือร้อยละ 39.71 ของพื้นที่ปลูกทุเรียนทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                  (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินโชคชัย (Ci) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกทุเรียน
                  ในกลุ่มดินตื้น กลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินตื้น-ที่ดินหินพื้นโผล่ กลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินทราย กลุ่มดิน
                  ทรายแป้ง กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด และกลุ่มดินร่วนหยาบ-ดินทราย มีเนื้อที่ 2,615 1,098
                  215 80 38 16 11 และ 8 ไร่ หรือร้อยละ 38.61 16.23 3.18 1.19 0.56 0.24 0.17 และ 0.11 ตามล าดับ

                  โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกทุเรียน ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-34 และรูปที่ 2.6-34)


                  ตารางที่ 2.6-34 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกทุเรียนที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                          เนื้อที่
                                         ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                      ไร่       ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินตื้น                                                  2,615     38.61

                          ชุดดินโพนพิสัย                                 Pp               86      1.26

                          ชุดดินศรีสะเกษ                                 Ssk           2,529     37.35

                      2. กลุ่มดินตื้น-ที่ดินหินพื้นโผล่                                  215      3.18

                          หน่วยเชิงซ้อนชุดดินวังน้ าเขียวและที่ดินหินพื้นโผล่   Wk-RC    215      3.18

                      3. กลุ่มดินทราย                                                     38      0.56

                          ชุดดินค าบง                                    Kg               38      0.56

                      4. กลุ่มดินทรายแป้ง                                                 16      0.24

                          ชุดดินศรีขรภูมิ                                Sik              16      0.24

                      5. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                              80      1.19

                          ชุดดินคง                                       Kng               5      0.08

                          ชุดดินร้อยเอ็ด                                 Re               53      0.79

                          ชุดดินหนองบุญนาก                              Nbn               22      0.32
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238