Page 228 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 228

2-200








                        2.6.4  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจ านวน 8 ชนิดพืช
                  ได้แก่ ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ หอมแดงศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ

                  สับปะรดท่าอุเทน ลิ้นจี่นครพนม ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ และส้มโอทองดีบ้านแท่น มีรายละเอียดดังนี้
                             1) ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนา
                  ที่ดิน มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กอง

                  นโยบายและแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่
                  ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่นาข้าวส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินทรายแป้ง มีเนื้อที่
                  505,119 ไร่ หรือร้อยละ 39.60 ของพื้นที่นาข้าวทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                  (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินช านิ (Cni) และชุดดินศรีขรภูมิ (Sik)

                  รองลงมาคือพื้นที่นาข้าวในกลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินเหนียว กลุ่มดินลึกปานกลาง
                  กลุ่มดินตื้น กลุ่มดินทราย กลุ่มดินตื้น-ที่ดินหินพื้นโผล่ กลุ่มดินตื้น-ที่ดินเต็มไปด้วยก้อนหิน กลุ่มดินร่วน
                  หยาบ-ดินทราย กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด และพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 257,038
                  204,400 177,967 66,680 28,426 18,158 7,705 5,715 2,565 1,982 และ 78 ไร่ หรือร้อยละ 20.15

                  16.02 13.94 5.23 2.22 1.42 0.60 0.45 0.20 0.16 และ 0.01 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่
                  พบในพื้นที่นาข้าว ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-31 และรูปที่ 2.6-31)


                  ตารางที่ 2.6-31 ชุดดินที่พบในพื้นที่นาข้าวที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                         เนื้อที่
                                         ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                      ไร่      ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินตื้น                                                28,426       2.22

                          ชุดดินศรีสะเกษ                                 Ssk           2,101      0.16
                          ชุดดินสบปราบ                                   So           23,226      1.82

                          ชุดดินสุรินทร์                                 Su            1,591      0.12
                          ชุดดินหนองบัวแดง                              Nbd            1,508      0.12
                      2. กลุ่มดินตื้น-ดินร่วนหยาบ                                         42        ns

                          หน่วยเชิงซ้อนชุดดินวังน้ าเขียวและชุดดินภูพาน  Wk-Pu            42        ns
                      3. กลุ่มดินตื้น-ที่ดินเต็มไปด้วยก้อนหิน                          5,715      0.45

                          หน่วยเชิงซ้อนชุดดินสบปราบและที่ดินเต็มไปด้วย  So-RL          5,715      0.45
                   ก้อนหิน
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233