Page 231 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 231

2-203






                  ตารางที่ 2.6-32 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกหอมแดงที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                                หอมแดงศรีสะเกษ ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา

                                                                                        เนื้อที่
                                       ชุดดิน                      สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่        ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินทราย                                                   235         7.50

                          ชุดดินมหาสารคาม                             Msk               235          7.50

                      2. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                          2,037        65.12

                          ชุดดินคง                                    Kng               537        17.17

                          ชุดดินร้อยเอ็ด                               Re             1,491        47.67

                          ชุดดินหนองบุญนาก                            Nbn                 9          0.28

                      3. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                               849        27.16

                          ชุดดินโนนแดง                                Ndg               442        14.14

                          ชุดดินพระทองค า                             Ptk               407        13.02

                      4. กลุ่มดินลึกปานกลาง                                               7         0.22

                          ชุดดินพล                                    Pho                 7          0.22



                            3) กระเทียมศรีสะเกษ จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน
                  1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผน
                  การใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของ
                  กรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกกระเทียมส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินร่วนหยาบ มีเนื้อที่ 9,463 ไร่
                  หรือร้อยละ 43.91 ของพื้นที่ปลูกกระเทียมทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                  ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินโนนแดง (Ndg) ชุดดินพระทองค า (Ptk)
                  หน่วยเชิงซ้อนชุดดินพระทองค าและชุดดินโนนแดง (Pth-Ndg) และชุดดินสีทน (St) รองลงมาคือพื้นที่
                  ปลูกกระเทียมศรีสะเกษในกลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด/กลุ่มดินเหนียว

                  กลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินเหนียว กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด กลุ่มดินทราย และกลุ่ม
                  ดินทรายแป้ง มีเนื้อที่ 7,117 1,502 1,488 875 648 340 และ 119 ไร่ หรือร้อยละ 33.02 6.97 6.91
                  4.06 3.00 1.58 และ 0.55 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกกระเทียม ดังนี้ (ตาราง
                  ที่ 2.6-33 และรูปที่ 2.6-33)
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236