Page 234 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 234

2-206






                  ตารางที่ 2.6-34 (ต่อ)


                                                                                          เนื้อที่
                                         ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                      ไร่       ร้อยละ
                      6. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                              1,098     16.23

                          ชุดดินโนนแดง                                  Ndg               74      1.09

                          ชุดดินปักธงชัย                                 Ptc             376      5.56

                          ชุดดินพระทองค า                                Ptk              28      0.42

                          ชุดดินภูพาน                                    Pu              598      8.84

                          ชุดดินละหานทราย                                Lah              22      0.32

                      7. กลุ่มดินร่วนหยาบ-ดินทราย                                          8      0.11

                          หน่วยเชิงซ้อนชุดดินภูพานและชุดดินค าบง        Pu-Kg              8      0.11

                      8. กลุ่มดินริมแม่น้้าหรือตะกอนน้้าพารูปพัด                          11      0.17

                          ชุดดินชุมพลบุรี                               Chp               11      0.17

                      9. กลุ่มดินเหนียว                                                2,688     39.71

                          ชุดดินโชคชัย                                   Ci            2,688     39.71


                            5) สับปะรดท่าอุเทน จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตรา
                  ส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ

                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินตื้น มีเนื้อที่ 2,152 ไร่
                  หรือร้อยละ 55.84 ของพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                  ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินปลาปาก (Ppk) ชุดดินโพนพิสัย (pp) และ
                  ชุดดินเพ็ญ (Pn) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกสับปะรดในกลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดิน
                  ริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด กลุ่มดินเหนียว และกลุ่มดินทรายแป้ง มีเนื้อที่ 793 774 86 34 และ
                  16 ไร่ หรือร้อยละ 20.56 20.07 2.24 0.88 และ 0.41 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่

                  ปลูกสับปะรด ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-35 และรูปที่ 2.6-35)
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239