Page 236 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 236

2-208






                            6) ลิ้นจี่นครพนม จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน

                  1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผน
                  การใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกลิ้นจี่ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินร่วนละเอียด มีเนื้อที่ 145 ไร่

                  หรือร้อยละ 40.97 ของพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินโคราช (Kt) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ในกลุ่มดินทราย
                  กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด กลุ่มดินลึกปานกลาง และกลุ่มดินร่วนหยาบ มีเนื้อที่ 78 45
                  44 และ 44 ไร่ หรือร้อยละ 21.86 12.64 12.36 และ 12.36 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบ
                  ในพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-36 และรูปที่ 2.6-36)


                  ตารางที่ 2.6-36 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                                ลิ้นจี่นครพนม ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                         เนื้อที่
                                       ชุดดิน                      สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่        ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินทราย                                                    78      21.91

                          ชุดดินน้ าพอง                                Ng                78      21.91

                      2.  กลุ่มดินร่วนละเอียด                                          145       40.73

                          ชุดดินโคราช                                  Kt               145      40.73

                      3.  กลุ่มดินร่วนหยาบ                                               44      12.36

                          ชุดดินพระทองค า                             Ptk                35       9.83

                          ชุดดินสีทน                                   St                 9       2.53

                      4.  กลุ่มดินริมแม่น้้าหรือตะกอนน้้าพารูปพัด                        45      12.64

                          ชุดดินธาตุพนม                                Tp                45      12.64

                      5.  กลุ่มดินลึกปานกลาง                                             44      12.36

                          ชุดดินพล                                    Pho                44      12.36


                            7) ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่นาข้าวส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่
                  580,167 ไร่ หรือร้อยละ 21.87 ของพื้นที่นาข้าวทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241