Page 217 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 217

2-189






                  ตารางที่ 2.6-28 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกทุเรียนที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                                ทุเรียนปราจีน ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                          เนื้อที่
                                         ชุดดิน                        สัญลักษณ์
                                                                                       ไร่      ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินตื้น                                                    189      30.58

                          ชุดดินกบินทร์บุรี                               Kb             170      27.49

                          ชุดดินวังน้ าเขียว                              Wk               1        0.15

                          ชุดดินอรัญประเทศ                                Ar              18        2.94

                      2. กลุ่มดินตื้น-ที่ดินหินพื้นโผล่                                   15       2.47

                         หน่วยเชิงซ้อนชุดดินวังน้ าเขียว และที่ดินหินพื้นโผล่   Wk-RC     15        2.47

                      3. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                              40       6.48

                          ชุดดินเขมราช                                   Kmr               3        0.49

                          ชุดดินเขาย้อย                                  Kyo               2        0.32

                          ชุดดินดอนไร่                                    Dr              21        3.40

                          ชุดดินบุญฑริก                                   Bt              14        2.27

                      4. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                                343      55.50

                          ชุดดินปักธงชัย                                  Ptc            306      49.51

                          ชุดดินละหานทราย                                Lah              37        5.99

                      5. กลุ่มดินเหนียว                                                   30       4.85

                          ชุดดินหนองมด                                   Nm               30        4.88


                            5) สับปะรดทองระยอง จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตรา

                  ส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ
                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินร่วนละเอียด มีเนื้อที่

                  33,780 ไร่ หรือร้อยละ 45.30 ของพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ชุดดินมาบบอน (Mb) ชุดดินท่าแซะ
                  (Te) ชุดดินบ้านค่าย (Bi) ชุดดินคลองนกกระทุง (Knk) และชุดดินโคกเคียน (Ko) เป็นต้น รองลงมา คือ
                  พื้นที่ปลูกสับปะรดในกลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินตื้น กลุ่มดินลึกปานกลาง พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน กลุ่มดิน
   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222