Page 216 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 216

2-188






                  ตารางที่ 2.6-27 (ต่อ)


                                                                                        เนื้อที่
                                      ชุดดิน                      สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่         ร้อยละ
                      4. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                            6,748         9.97

                          ชุดดินบ้านฉาง                              Bcg             4,171          6.16

                          ชุดดินหุบกระพง                             Hg              1,753          2.59

                          หน่วยดินเชิงซ้อนของตะกอนน้ าพา             AC                824          1.22

                      5. กลุ่มดินลึกปานกลาง                                          6,957       10.28

                          ชุดดินทับเสลา                              Tas             1,281        1.89

                          ชุดดินบ้านไร่                              Bar             1,111        1.64

                          ชุดดินภูสะนา                               Ps                349        0.52

                          ชุดดินลาดหญ้า                              Ly              1,530        2.26

                          ชุดดินวังสะพุง                             Ws              2,686        3.97

                      6. กลุ่มดินเหนียว                                               207         0.31

                          ชุดดินหนองมด                              Nm                 207          0.31

                      7. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                        453         0.67

                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                      SC                453          0.67


                            4) ทุเรียนปราจีน จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน
                  1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผน

                  การใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของ
                  กรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกทุเรียนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินร่วนหยาบ มีเนื้อที่ 343 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 55.50 ของพื้นที่ปลูกทุเรียนทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน

                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินมาบบอน (Mb) ชุดดินดอนไร่ (Dr) ชุดดินโคกเคียน
                  (Ko) ชุดดินเขาย้อย (Kyo) และชุดดินชลบุรี (Cb) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกทุเรียนในกลุ่มดินตื้น กลุ่มดิน
                  ร่วนละเอียด กลุ่มดินเหนียว และกลุ่มดินตื้น-ที่ดินหินพื้นโผล่ มีเนื้อที่ 189 40 30 และ 15 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 30.58 6.48 4.85 และ 2.47 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกทุเรียนปราจีน

                  ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-28 และรูปที่ 2.6-28)
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221