Page 213 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 213

2-185








                        2.6.3 ภาคตะวันออก
                            พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคตะวันออก มีจ านวน 6 ชนิดพืช ได้แก่
                  มะม่วงน้ าดอกไม้สีทองบางคล้า มะพร้าวน้ าหอมบางคล้า สับปะรดศรีราชา ทุเรียนปราจีน สับปะรดทอง

                  ระยอง และสับปะรดตราดสีทอง
                            1) มะม่วงน้้าดอกไม้สีทองบางคล้า จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนา
                  ที่ดิน มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กอง

                  นโยบายและแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่
                  ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกมะม่วงส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่
                  3,174 ไร่ หรือร้อยละ 83.59 ของพื้นที่ปลูกมะม่วงทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินฉะเชิงเทรา (Cc) รองลงมาคือ

                  พื้นที่ปลูกมะม่วงในกลุ่มดินเปรี้ยวจัด มีเนื้อที่ 623 ไร่ หรือร้อยละ 16.41 ของพื้นที่ปลูกมะม่วงทั้งหมด
                  ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่
                  ชุดดินมหาโพธิ์ (Ma) ชุดดินดอนเมือง (Dm) ชุดดินรังสิต (Rs) และชุดดินบางน้ าเปรี้ยว (Bp) โดยมี
                  รายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะม่วง ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-25 และรูปที่ 2.6-25)


                  ตารางที่ 2.6-25 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะม่วงที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                มะม่วงน้ าดอกไม้สีทองบางคล้า ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                     เนื้อที่
                                   ชุดดิน                   สัญลักษณ์
                                                                               ไร่          ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินเปรี้ยวจัด                                          623          16.41

                          ชุดดินดอนเมือง                       Dm                    196            5.17

                          ชุดดินบางน้ าเปรี้ยว                 Bp                      49           1.29

                          ชุดดินมหาโพธิ์                       Ma                    255            6.72

                          ชุดดินรังสิต                         Rs                    123            3.23

                      2. กลุ่มดินเหนียว                                            3,174          83.59

                          ชุดดินฉะเชิงเทรา                     Cc                  3,174          83.59


                            2) มะพร้าวน้้าหอมบางคล้า จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกมะพร้าวส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่
                  12,945 ไร่ หรือร้อยละ 97.10 ของพื้นที่ปลูกมะพร้าวทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218