Page 214 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 214

2-186






                  ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินฉะเชิงเทรา (Cc) และ

                  ชุดดินบางกอก (Bk) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกมะพร้าวในกลุ่มดินเปรี้ยวจัด มีเนื้อที่ 386 ไร่ หรือร้อยละ
                  2.90 ของพื้นที่ปลูกมะพร้าวทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินบางน้ าเปรี้ยว (Bp) ชุดดินดอนเมือง (Dm) ชุดดินมหาโพธิ์ (Ma)

                  และชุดดินรังสิต (Rs) โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะพร้าว ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-26 และ
                  รูปที่ 2.6-26)


                  ตารางที่ 2.6-26  ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะพร้าวที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                มะพร้าวน้ าหอมบางคล้า ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                     เนื้อที่
                                   ชุดดิน                   สัญลักษณ์
                                                                               ไร่          ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินเปรี้ยวจัด                                        386            2.90

                          ชุดดินดอนเมือง                       Dm                  127            0.96

                          ชุดดินบางน้ าเปรี้ยว                 Bp                  143            1.07

                          ชุดดินมหาโพธิ์                       Ma                    97           0.73

                          ชุดดินรังสิต                         Rs                    19           0.14

                      2. กลุ่มดินเหนียว                                         12,945           97.10

                          ชุดดินฉะเชิงเทรา                     Cc                11,971          89.79

                          ชุดดินบางกอก                         Bk                  974            7.31



                            3) สับปะรดศรีราชา จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน
                  1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผน
                  การใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินร่วนละเอียด มีเนื้อที่

                  42,350 ไร่ หรือร้อยละ 62.52 ของพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินมาบบอน (Mb) ชุดดินดอนไร่ (Dr)
                  ชุดดินโคกเคียน (Ko) ชุดดินเขาย้อย (Kyo) และชุดดินชลบุรี (Cb) รองลงมา คือ พื้นที่ปลูกสับปะรด
                  ในกลุ่มดินตื้น กลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินทราย พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน และกลุ่มดิน

                  เหนียว มีเนื้อที่ 7,315 6,957 6,748 3,689 453 และ 207 ไร่ หรือร้อยละ 10.80 10.28 9.97 5.45 0.67
                  และ 0.31 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกสับปะรดศรีราชา ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-27
                  และ รูปที่ 2.6-27)
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219