Page 220 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 220

2-192






                            6) สับปะรดตราดสีทอง จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินตื้น มีเนื้อที่

                  9,000 ไร่ หรือร้อยละ 40.18 ของพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ชุดดินคลองซาก (Kc) ชุดดินห้วยยอด
                  (Ho) และชุดดินชุมพร (Cp) เป็นต้น รองลงมาคือพื้นที่ปลูกสับปะรดในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน กลุ่มดิน
                  เหนียว กลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินร่วนริมแม่น้ า กลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินเปรี้ยวจัด กลุ่มดินเลน
                  ชายทะเล กลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินทรายแป้ง และกลุ่มดินทราย มีเนื้อที่ 4,955 2,561 1,179 1,053

                  901 590 321 311 และ 145 ไร่ หรือร้อยละ 22.13 11.43 6.16 5.27 4.70 4.02 2.64 1.43 1.39 และ
                  0.65 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกสับปะรด ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-30 และรูปที่ 2.6-30)


                  ตารางที่ 2.6-30 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกสับปะรดที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                สับปะรดตราดสีทอง ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                       เนื้อที่
                                       ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่         ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินตื้น                                                 9,000      40.18

                          ชุดดินคลองซาก                              Kc               8,474      37.84
                          ชุดดินชุมพร                                Cp                 165       0.73


                          ชุดดินห้วยยอด                              Ho                 361       1.61

                      2. กลุ่มดินทราย                                                  145        0.65


                          ชุดดินระยอง                                Ry                 127       0.57
                          ชุดดินวัลเปรียง                            Wp                  18       0.08

                      3. กลุ่มดินทรายแป้ง                                               311         1.39
                          ชุดดินตากใบ                                Ta                  78          0.35


                          ชุดดินพานทอง                               Ptg                233          1.04

                      4. กลุ่มดินเปรี้ยวจัด                                             901         4.02


                          ชุดดินมูโน๊ะ                               Mu                 901          4.02

                      5. กลุ่มดินร่วนริมแม่น้้า                                       1,179         5.27


                          ชุดดินรือเสาะ                              Ro               1,179          5.27
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225