Page 159 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 159

2-131






                  ตารางที่ 2.6-3 (ต่อ)

                                                                                         เนื้อที่
                                       ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่       ร้อยละ
                      4. กลุ่มดินเหนียว                                               4,300        65.65

                          ชุดดินเชียงของ                               Cg               457          6.98

                          ชุดดินเชียงแสน                               Ce               716        10.93

                          ชุดดินพาน                                    Ph               109          1.67

                          ชุดดินเวียงชัย                              Wch               287          4.38

                          ชุดดินหนองมด                                 Nm             2,421        36.96

                          ชุดดินหางดง                                  Hd               310          4.73

                      5. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                        1,829        27.93

                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                        SC             1,829        27.93


                            4) สับปะรดภูแลเชียงราย จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย

                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่
                  6,484 ไร่ หรือร้อยละ 54.11 ของพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง

                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินหางดง (Hd) ชุดดินหนองมด
                  (Nm) ชุดดินเวียงชัย (Wch) ชุดดินเชียงแสน (Ce) ชุดดินพาน (Ph) และชุดดินเชียงของ (Cg) รองลงมา
                  คือพื้นที่ปลูกสับปะรดในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน ดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด กลุ่มดินตื้น กลุ่มดิน
                  ลึกปานกลาง และกลุ่มดินร่วนละเอียด มีเนื้อที่ 4,956 188 143 118 และ 94 ไร่ หรือร้อยละ 41.36

                  1.57 1.19 0.99 และ 0.78 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกสับปะรด ดังนี้ (ตาราง
                  ที่ 2.6-4 และรูปที่ 2.6-4)
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164