Page 155 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 155

2-127








                  2.6   ทรัพยากรดินและที่ดิน
                        ทรัพยากรดินเป็นทรัพยากรทางธรรมชาติที่ส าคัญต่อการด ารงชีพของประชากรไทย เนื่องจาก

                  ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ดินจึงเป็นปัจจัยหลักที่ช่วยในการผลิตอาหารของมนุษย์
                  จากกระบวนการก าเนิดของดินที่เกิดจากการสลายตัวของหินและแร่ธาตุต่างๆ ผสมคลุกเคล้ากับ
                  อินทรียวัตถุ น้ าและอากาศจนกลายเป็นดิน ท าให้ดินแต่ละแห่งมีลักษณะต่างกันเนื่องจากการก าเนิดดิน

                  ที่แตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ วัตถุต้นก าเนิด ระยะเวลาและส่วนผสมจากมูลของ
                  สิ่งมีชีวิตต่างๆ เมื่อมีการใช้ประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องกับดินในการเพาะปลูก ดินแต่ละแห่งจึงมีความ
                  เหมาะสมแตกต่างกันไปในแต่ละพืชตามลักษณะของดิน
                        ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน,

                  2561) และข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน, 2563) ถูกน ามาวิเคราะห์ร่วมกับ
                  ข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา
                  เพื่อใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ทรัพยากรดินและที่ดินที่เป็นอัตลัตลักษณ์ (Identity) คุณลักษณะเฉพาะตัว
                  ของพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ทั้ง 48 ชนิด โดยแบ่งพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ออกเป็นกลุ่มตาม 5 ภูมิภาค

                  ได้แก่ ภาคเหนือ จ านวน 8 ชนิดพืช  ภาคกลาง จ านวน 14 ชนิดพืช ภาคตะวันออก จ านวน 6 ชนิดพืช
                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 8 ชนิดพืช และภาคใต้ จ านวน 10 ชนิดพืช แสดงรายละเอียด
                  ทรัพยากรดินในแต่ละชนิดพืช ดังนี้

                        2.6.1 ภาคเหนือ
                            พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคเหนือ มีจ านวน 8 ชนิดพืช ได้แก่ กล้วย

                  ไข่ก าแพงเพชร ล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน สับปะรดนางแล สับปะรดภูแลเชียงราย ลิ้นจี่แม่ใจพะเยา
                  สับปะรดห้วยมุ่น มะขามหวานเพชรบูรณ์ และข้าวก่ าล้านนา

                            1) กล้วยไข่ก้าแพงเพชร จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย

                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกกล้วยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอน
                  น้ าพารูปพัด มีเนื้อที่ 14,743 ไร่ หรือร้อยละ 57.49 ของพื้นที่ปลูกกล้วยทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิต
                  พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ชุดดินก าแพงเพชร (Kp)
                  ชุดดินเชียงใหม่ (Cm) และชุดดินไทรงาม (Sg) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกกล้วยในกลุ่มดินเหนียว กลุ่มดิน

                  ร่วนละเอียด กลุ่มดินตื้น กลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินร่วนหยาบ พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน และกลุ่มดินลึก
                  ปานกลาง-ดินตื้น มีเนื้อที่ 7,573 1,848 693 504 211 62 และ 11 ไร่ หรือร้อยละ 29.52 7.20 2.71
                  1.97 0.83 0.24 และ 0.04 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกกล้วย ดังนี้ (ตารางที่

                  2.6-1 และรูปที่ 2.6-1)
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160