Page 157 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 157

2-129






                  ตารางที่ 2.6-1 (ต่อ)

                                                                                        เนื้อที่
                                       ชุดดิน                      สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่        ร้อยละ
                      6. กลุ่มดินลึกปานกลาง-ดินตื้น                                     11        0.04
                          ชุดดินลาดหญ้า-ชุดดินท่ายาง                 Ly-Ty              11        0.04

                      7. กลุ่มดินเหนียว                                              7,573       29.52
                          ชุดดินเฉลียงลับ                             Cl                22        0.08

                          ชุดดินพิษณุโลก                              Psl            1,826        7.12
                          ชุดดินโพทะเล                                Plo            4,034       15.73
                          ชุดดินสุโขทัย                               Skt            1,691        6.59

                      8. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                          62        0.24
                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                       SC                62        0.24


                            2) ล้าไยเบี้ยวเขียวล้าพูน จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย

                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกล าไยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่
                  19,310 ไร่ หรือร้อยละ 67.17 ของพื้นที่ปลูกล าไยทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้
                  ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินหางดง (Hd) รองลงมา
                  คือพื้นที่ปลูกล าไยในกลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด กลุ่มดินร่วนหยาบ และกลุ่มดินทรายแป้ง

                  มีเนื้อที่ 5,138 2,684 และ 1,620 ไร่ หรือร้อยละ 17.87 9.33 และ 5.63 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียด
                  ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกล าไย ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-2 และรูปที่ 2.6-2)

                  ตารางที่ 2.6-2  ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกล าไยที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                ล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา

                                                                                        เนื้อที่
                                       ชุดดิน                      สัญลักษณ์

                                                                                   ไร่        ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินทรายแป้ง                                            1,620         5.63

                          ชุดดินล าปาง                                Lp             1,620          5.63

                      2. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                            2,684         9.33

                         ชุดดินสันทราย                                 Sai           2,684          9.33
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162