Page 162 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 162

2-134






                  ร้อยละ 10.32 4.60 และ 0.78 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกสับปะรด ดังนี้

                  (ตารางที่ 2.6-6 และรูปที่ 2.6-6)

                  ตารางที่ 2.6-6  ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกสับปะรดที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                                สับปะรดห้วยมุ่น ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                        เนื้อที่
                                      ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่         ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                         1,101         4.60

                          ชุดดินด่านซ้าย                            Ds                 221          0.92

                          ชุดดินภูเรือ                              Pur                225          0.94

                          ชุดดินสีคิ้ว                               Si                655          2.74

                      2. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                              187         0.78

                          ชุดดินปักธงชัย                            Ptc                100          0.42

                          หน่วยดินเชิงซ้อนของตะกอนน้ าพา            AC                  87          0.36

                      3. กลุ่มดินลึกปานกลาง                                          2,468        10.32

                          ชุดดินโพนงาม                              Png              2,468        10.32

                      4. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                      20,160        84.30

                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                     SC              20,160        84.30



                            7) มะขามหวานเพชรบูรณ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกมะขามส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่

                  73,579 ไร่ หรือร้อยละ 29.80 ของพื้นที่ปลูกมะขามทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา รองลงมาคือพื้นที่ปลูกมะขามในกลุ่มดิน
                  ตื้น กลุ่มดินเหนียว กลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินที่พบชั้นมาร์ล กลุ่มดินร่วนหยาบ
                  กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด กลุ่มดินตื้น-ที่ดินหินพื้นโผล่ กลุ่มดินตื้น-ที่ดินเต็มไปด้วย

                  ก้อนหิน และกลุ่มดินลึกปานกลาง-ที่ดินหินพื้นโผล่ มีเนื้อที่ 70,431 34,615 24,219 19,929 12,910
                  4,925 4,015 1,612 216 และ 16 ไร่ หรือร้อยละ 28.55 14.04 9.81 8.07 5.23 1.99 1.63 0.65 0.09 และ
                  0.01 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะขาม ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-7 และรูปที่ 2.6-7)
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167