Page 161 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 161

2-133






                  ตารางที่ 2.6-5  ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                                ลิ้นจี่แม่ใจพะเยา ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                        เนื้อที่
                                      ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่         ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินตื้น                                                  792         6.08

                          ชุดดินท่ายาง                              Ty                 175          1.34
                          ชุดดินพะเยา                               Pao                617          4.73
                      2. กลุ่มดินทรายแป้ง                                            1,131         8.68

                          ชุดดินล าปาง                              Lp               1,131          8.68
                      3. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                           237         1.82

                          ชุดดินแพร่                                Pae                165          1.27
                          ชุดดินแม่ขาน                             Mkn                  72          0.55

                      4. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                            1,393        10.68
                          ชุดดินสันทราย                             Sai              1,355        10.39
                          หน่วยดินเชิงซ้อนของตะกอนน้ าพา            AC                  38          0.29

                      5. กลุ่มดินลึกปานกลาง                                          1,134         8.70
                          ชุดดินลาดหญ้า                             Ly               1,122          8.61

                          ชุดดินวังสะพุง                            Ws                  12          0.10
                      6. กลุ่มดินเหนียว                                              3,197        24.54
                          ชุดดินเชียงราย                            Cr                 885          6.79

                          ชุดดินพาน                                 Ph                 264          2.03
                          ชุดดินแม่แตง                              Mt                 867          6.66

                          ชุดดินสุโขทัย                             Skt              1,181          9.06
                      7. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                       5,148        39.50
                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                     SC               5,148        39.50


                            6) สับปะรดห้วยมุ่น จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตรา
                  ส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ

                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่
                  20,160 ไร่ หรือร้อยละ 84.30 ของพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้
                  ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา รองลงมาคือพื้นที่ปลูกสับปะรดในกลุ่ม

                  ดินลึกปานกลาง กลุ่มดินร่วนละเอียด และกลุ่มดินร่วนหยาบ มีเนื้อที่ 2,468 1,101 และ 187 ไร่ หรือ
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166