Page 53 - รายงานประจำปี 2565
P. 53

หอมแดงศรีสะเกษ มีลักษณะเปลือกแหงมัน สีแดงเขมปนมวง หัวมีลักษณะ
                                             กลม มีกลิ่นฉุน ซึ่งปลูกในพื้นที่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอราษีไศล
                                             อำเภอยางชุมนอย อำเภอกันทรารมย อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอวังหิน

                                             และอำเภอพยุห จังหวัดศรีสะเกษ จากขอมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
                                             ป 2564 จังหวัดศรีสะเกษ มีเนื้อที่เพาะปลูกหอมแดง 24,394 ไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว
               24,293 ไร ผลผลิตเฉลี่ย 3,554 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตรวม 86,344 ตัน มีพื้นที่ปลูกสวนใหญในพื้นที่ 3 อำเภอ

               ไดแก อำเภอยางชุมนอย อำเภอราษีไศล และอำเภอกันทรารมย

                     สับปะรดทาอุเทน หมายถึง สับปะรดพันธุปตตาเวีย ที่มีเนื้อละเอียด แนน
               สีเหลืองเขม ตาตื้น รสชาติหวาน หอม ไมกัดลิ้น แกนหวาน กรอบ ซึ่งปลูก
               ในเขตพื้นที่อำเภอทาอุเทนและอำเภอโพนสวรรค ของจังหวัดนครพนม
               ในป 2564 มีเนื้อที่เพาะปลูกสับปะรดทาอุเทนประมาณ 5,500 ไร โดยมีการปลูก

               ในพื้นที่อำเภอโพนสวรรค 1,500 ไร และอำเภอทาอุเทน 4,000 ไร ผลผลิต
               เฉลี่ย 3,337 กิโลกรัมตอไร

                                                   ลิ้นจี่นครพนม หมายถึง ลิ้นจี่พันธุ นพ.1 ที่มีเปลือกสีแดงอมชมพู
                                             ผลขนาดใหญ ทรงรูปไข เนื้อผลแหง สีขาวขุน รสชาติหวานอมเปรี้ยว ไมมีรสฝาด
                                             ซึ่งปลูกในเขตพื้นที่ตำบลขามเฒา อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม

                                             จากขอมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2563 จังหวัดนครพนม มีเนื้อที่
                                             เพาะปลูกลิ้นจี่ 2,191 ไร เนื้อที่ใหผล 1,711 ไร ผลผลิต 907 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย
               530 กิโลกรัมตอไร เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลังระหวางป 2556-2563 พบวา เนื้อที่เพาะปลูกและเนื้อที่ใหผลผลิต
               มีแนวโนมเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 19.61 และ 12.98 ตอป ตามลำดับ


                     ขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย หมายถึง ขาวเปลือก ขาวกลอง และ
               ขาวขาว ที่แปรรูปมาจากขาวหอมมะลิพันธุขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ กข15
               ปลูกในฤดูนาป บนพื้นที่ที่มีแรธาตุจากดินภูเขาไฟบุรีรัมย ครอบคลุมพื้นที่
               7 อำเภอ ของจังหวัดบุรีรัมย ไดแก อำเภอเมืองบุรีรัมย (เฉพาะตำบลบานบัว
               ตำบลบานยาง ตำบลสวายจีก ตำบลเสม็ด ตำบลอิสาณ ตำบลบัวทอง

               ตำบลสะแกซำ) อำเภอหวยราช (เฉพาะตำบลสนวน ตำบลหวยราช ตำบล
               หวยราชา ตำบลสามแวง ตำบลโคกเหล็ก) อำเภอประโคนชัย (เฉพาะตำบลเขาคอก ตำบลจรเขมาก ตำบลประทัดบุ
               ตำบลโคกยาง) อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลเจริญสุข ตำบลตาเปก ตำบลถาวร ตำบลยายแยมวัฒนา)

               อำเภอปะคำ (เฉพาะตำบลโคกมะมวง ตำบลไทยเจริญ) อำเภอละหานทราย (เฉพาะตำบลตาจง ตำบลโคกวาน) และ
               อำเภอนางรอง (เฉพาะตำบลถนนหัก ตำบลสะเดา ตำบลหนองไทร ตำบลหนองโบสถ ตำบลชุมแสง) โดยพื้นที่ปลูก
               ขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยตามการประกาศขึ้นทะเบียนของกรมทรัพยสินทางปญญา อยูในพื้นที่กลุมชุดดินที่ 1
               (ชุดดินบุรีรัมย ชุดดินวัฒนา) และ 28 (ชุดดินชัยบาดาล) โดยพบวามีพื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
               ในพื้นที่ตามประกาศ 100,206 ไร ผลผลิตเฉลี่ยของขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย 393 กิโลกรัมตอไร





                       51
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58